fieldid
เขตข้อมูล | ข้อมูล |
บทคัดย่อ |
การควบคุมคุณภาพของเครื่องปรับตั้งมุมล้อ : บริษัท โตโยต้ามอเตอร์ เอเชียแปซิฟิค เอนจิเนียริ่งแอนด์แมนูแฟคเจอริ่ง จำกัด : โครงงานชิ้นนี้จัดทาขึ้นเพื่อศึกษาการปฏิบัติงาน การตรวจสอบและการยืนยันคุณภาพของเครื่อง Front Wheel Alignment M/C ทั้งนี้เพื่อการรองรับรถยนต์รุ่นใหม่และเก่าที่จะถูกผลิตขึ้น และทำการส่งมอบตัวเครื่องให้ทางฝ่ายซ่อมบำรุงของทางโรงงานเป็นผู้ดูแลต่อไป โดยเป้าหมายที่ตั้งไว้คือ
1. ค่าของมุม Caster และ Camber ต้องอยู่ในช่วงที่รถยนต์ประเภทนั้นกำหนดโดยที่มีค่า tolerance ± 0.5◦
2. ค่า Camber ตาม KATASHIKI ต้องได้มาตรฐานตามที่รถยนต์ประเภทนั้นกำหนดขึ้น
เครื่องมือที่ใช้ในการทำโครงงานคือ CF Gauge Attachment ใช้สำหรับวัดค่า Gab ของเครื่อง Front Wheel Alignment M/C และ Caster & Camber Gauge ใช้สำหรับตรวจสอบตัว Sensor ของเครื่อง
ในการปฏิบัติงานภายหลังการปรับปรุงเครื่องจักรแล้ว ขั้นตอนแรกเราจะทำการตรวจสอบ Gab โดยใช้ CF Gauge Attachment ผลปรากฏว่าค่าที่ได้แตกต่างจากของเดิมจึงต้องมีการแก้ไขให้ได้ตามค่า Standard Setting ภายหลังจากการแก้ไข จะทำการสอบเทียบตัว Sensor ของเครื่องเป็นขั้นตอนถัดไป โดยกำหนดมุม 3 มุมที่ใช้สอบเทียบคือ Caster : 0◦, 1◦, 3◦ และ Camber : 0◦, -1◦, -3◦ ผลคือ ค่าไม่เป็นไปตามที่ตั้งเป้าหมายไว้ จึงทาการวิเคราะห์หาสาเหตุโดยวิธี Why-Why analysis ทำให้ทราบว่า Sensor ของตัวเครื่องมีการขยับตำแหน่งเล็กน้อยเป็นผลมาจากน้าหนักของเครื่องที่มากขึ้นภายหลังการปรับปรุง จึงทำการแก้ไขและเข้าสู่กระบวนการยืนยันคุณภาพ โดยได้ใช้รถยนตร์ 4 ประเภท ประเภทละ 30 คัน เป็นกลุ่มตัวอย่าง โดยวัดค่า Caster และ Camber ที่แสดงผลที่ตู้ MAIN และทำการวิเคราะห์ข้อมูลออกมาในรูปของกราฟโดยแบ่งการวิเคราะห์ตามเป้าหมายที่ตั้งไว้ 3 ข้อ ผลปรากฎว่า ผ่านมาตรฐานหมดทั้ง 3 เงื่อนไข
จากผลที่ได้ทำให้คอนเฟิร์มได้ว่าเครื่อง Front Wheel
|
ผู้แต่ง |
|
ประเภทสิ่งพิมพ์ |
|
ปีที่พิมพ์ |
1 |
เลขหน้า |
55 |
หัวเรื่อง |
|
หัวเรื่อง |
|
หัวเรื่อง |
|
เอกสารฉบับเต็ม |
Center of Academic Resource
Institute of Technology 1771/1, E Building, Fl. 2,
Pattanakarn Rd, Suan Luang, Bangkok, 10250