fieldid E-Thesis & Research สถาบันเทคโนโลยีไทย-ญี่ปุ่น
สืบค้น:

เขตข้อมูล ข้อมูล
บทคัดย่อ
การประยุกต์ใช้ ซิกซ์ ซิกม่า เพื่อลดความผันแปรในกระบวนการผลิตไฟท้ายรถยนต์ : กรณีศึกษา กระบวนการเชื่อมประกอบ (Model B299) : งานวิจัยฉบับนี้เป็นการนําเอาเครื่องมือ ซิกซ์ ซิกม่า (Six Sigma) มาปรับปรุงใน กรณีศึกษา กระบวนการเชื่อมประกอบไฟท้ายรถยนต์ โดยการศึกษาจะมุ่งเน้นการปรับปรุง กระบวนการและนําเอาเครื่องมือ ซิกซ์ ซิกม่า มาช่วยลดความแปรปรวนในกระบวนการผลิต และต้องการลด Tolerance จากค่า 0±1.5 mm เป็น 0±1.0 mm โดยมีขันตอนการดําเนินการ โดยสรุปคือ 1. กําหนดหัวข้อ (D-Define) ระบุปัญหาที่จะทําการปรับปรุง ซึ่งเนื่องจากกระบวนการ ปัจจุบันมีความแปรปรวนมาก และทําให้เกิดปัญหาในขั้นตอนการประกอบของลูกค้า ดังนั้นจึง ต้องการ ลดความแปรปรวนในกระบวนการผลิต และต้องการลด Tolerance จากค่า 0±1.5 mm เปน 0±1.0 mm 2. การวัด (M-Measure) จากกระบวนการปัจจุบัน เมื่อเก็บข้อมูล ppk ของกระบวนการ ปัจจุบัน พบว่าเมื่อใช้ Tolerance 0±1.0 mm. นั้น มีค่า ppk ไม่ถึง 1.33 นั่นหมายถึงว่า กระบวนการมีความแปรปรวนมาก ต้องทําการปรับปรุงก่อนที่จะเปลี่ยน Tolerance 3. การวิเคระห์ (A-Analysis) จากการวิเคราะห์โดยใช้การระบุสาเหตุที่เป็นไปได้ และ ผังแสดงเหตุและผล (Cause and Effect Diagram) พบว่า ปัจจัยที่ทําให้เกิดความแปรปรวนใน กระบวนการเชื่อมประกอบนั้นมาจาก 3 ปัจจัย คือ 1. Vacuum Jig ดูดเลนส์เข้ากับ Jig ตลอด เวลาทําให้ พนักงานไม่สามารถกําหนดตําแหน่งของ เลนส์ก่อนจะทําการเชื่อม, 2 Jig ไม่มี Stopper เพื่อที่จะกําหนดตําแหน่งของเลนส์ ก่อนทําการเชื่อม และ 3 Jig ไม่ Balance 4. การปรับปรุง (I-Improve) ทําการปรุบปรุงกระบวนการโดยการเพิ่ม Foot Switch, เพิ่ม Stopper และทําการ Balance Jig ใหม่ 5. การควบคุม (C-Control) ทําการแก่ เอกสาร Check Sheet จาก Tolerance 0±1.5 mm เป็น 0±1.0 mm. จากการศึกษากระบวนการผลิตดังกล่าวพบว่า ซึ่งหลังจากการปรับปรุงพบว่า
ผู้แต่ง
ประเภทสิ่งพิมพ์
ปีที่พิมพ์
1
เลขหน้า
73
หัวเรื่อง
หัวเรื่อง
เอกสารฉบับเต็ม