fieldid
เขตข้อมูล | ข้อมูล |
บทคัดย่อ |
การปรับตัวและคุณภาพชีวิตที่ส่งผลต่อความสุขของชาวญี่ปุ่นเข้ามาทำงานในเขตภาคตะวันออกของประเทศไทย : การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เปรียบเทียบระดับการปรับตัวจาแนกตามคุณลักษณะทางประชากรศาสตร์ 2) เปรียบเทียบระดับคุณภาพชีวิตจาแนกตามคุณลักษณะทางประชากรศาสตร์ 3) เปรียบเทียบความสุขจาแนกตามคุณลักษณะทางประชากรศาสตร์ 4) หาความสัมพันธ์ระหว่างการปรับตัวกับระดับคุณภาพชีวิต 5) เปรียบเทียบการปรับตัวที่ส่งผลต่อระดับความสุข 6) เปรียบเทียบระดับคุณภาพชีวิตที่ส่งผลต่อระดับความสุข ประชากรที่ใช้ในการวิจัยในครั้งนี้ คือ ชาวญี่ปุ่นที่เข้ามาทางานในเขตภาคตะวันออกของประเทศไทย และกลุ่มตัวอย่างจานวนทั้งสิ้น 445 คน โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการศึกษาวิจัย สถิติที่ใช้ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าร้อยละ สถิติทดสอบความแตกต่าง 2 กลุ่มตัวอย่าง (Independent Sample t-test) การหาค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เพียร์สัน (Pearson s Product Moment Correlation Coefficient) สถิติการวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว (One-Way Analysis of Variance : ANOVA) และ Multiple Linear Regression ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศชาย ร้อยละ 98.00 อายุ 51 ปีขึ้นไป ร้อยละ 78.20 สถานภาพสมรส ร้อยละ 63.80 พนักงานที่จัดจ้างในต่างประเทศและส่งมาประจาการชั่วคราวในประเทศไทย ร้อยละ 95.50 สังกัดธุรกิจเกี่ยวกับการผลิตในระดับบริหาร ร้อยละ 87.60 อยู่ในจังหวัดระยอง ร้อยละ 59.80
ผลการศึกษาพบว่า 1) คุณลักษณะทางประชากรศาสตร์ที่แตกต่างกัน ส่งผลต่อการปรับตัว อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .01 2) คุณลักษณะทางประชากรศาสตร์ที่แตกต่างกัน ส่งผลต่อระดับคุณภาพชีวิต อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3) คุณลักษณะทางประชากรศาสตร์ที่แตกต่างกัน ส่งผลต่อระดับความสุข อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 4)การปรับตัวมีความสัมพันธ์กับระดับคุณภาพชีวิต อย่างมี
|
ผู้แต่ง |
|
ประเภทสิ่งพิมพ์ |
|
เลขหน้า |
203 |
หัวเรื่อง |
|
หัวเรื่อง |
|
เอกสารฉบับเต็ม |
Center of Academic Resource
Institute of Technology 1771/1, E Building, Fl. 2,
Pattanakarn Rd, Suan Luang, Bangkok, 10250