fieldid
เขตข้อมูล | ข้อมูล |
บทคัดย่อ |
ทักษะการสื่อสารการปรับตัวด้านวัฒนธรรมกับความสุขของคนญี่ปุ่นที่เข้ามาพำนักระยะยาวในประเทศไทย : การศึกษาทักษะการสื่อสารการปรับตัวด้านวัฒนธรรมกับความสุขของคนญี่ปุ่นที่เข้ามาพานักระยะยาวในประเทศไทย มีวัตถุประสงค์ 1.เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการปรับตัวทางวัฒนธรรมกับความสุขของคนญี่ปุ่นที่เข้ามาพานักระยะยาว 2.เพื่อเปรียบเทียบทักษะการสื่อสารที่แตกต่างกันส่งผลกับความสุขของคนญี่ปุ่นที่เข้ามาพานักระยะยาว โดยการศึกษาจากกลุ่มตัวอย่าง 428 ตัวอย่างในประเทศไทย จากคนญี่ปุ่นอาศัยอยู่หรือทางาน โดยใช้วิธีการสุ่มตามความสะดวก เก็บข้อมูลแบบสอบถาม คนญี่ปุ่นที่ไปร่วมกิจกรรมตามสมาคมต่าง ๆ และทางอินเตอร์เน็ต และ นาข้อมูลมาวิเคราะห์โดยการหาค่าแจกแจงความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยกลุ่มตัวอย่าง การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว และ การวิเคราะห์ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน
ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศชายชาวญี่ปุ่น ที่มีอายุระหว่าง 36-46 ปี สถานภาพโสด อาชีพ เป็นคนทางาน ทักษะการสื่อสารในการพูด ฟัง อ่าน-เขียน ภาษาไทย และภาษาอังกฤษได้ในระดับต่า ลักษณะที่พานักระยะยาวที่ประเทศญี่ปุ่นเป็นบ้านเดี่ยว และ ในประเทศไทยเป็นคอนโดมิเนียม การถือครองกรรมสิทธิ์ที่พานักระยะยาวในประเทศไทยเป็นลักษณะการเช่าอยู่ ระยะเวลาในการพานักในประเทศจะเกิน 1 ปีขึ้นไป เหตุผลที่เลือกมาพานักระยะยาวเพราะค่าครองชีพที่ถูก และสถานที่ต้องการพานักระยะยาว จะเป็นสถานที่ใกล้กับคมนาคมที่สะดวกในการเดินทาง
ผลการวิจัยพบว่า กลุ่มตัวอย่างให้ความสาคัญในการปรับตัว ทั้ง 8 ด้าน และด้านสุขภาพเป็นอันดับ1 ( =3.77) รองลงมาคือ ด้านบ้านเรือน ( =3.75) และ ด้านอาหาร( =3.66)
กลุ่มตัวอย่างให้ความสาคัญเกี่ยวกับคุณภาพชีวิตและความสุขเป็นอันดับ1คือHappy body( =3.86) รองลงมาคือ Happy Relax( =3.79) และ Happy Brain ( =
|
ผู้แต่ง |
|
ประเภทสิ่งพิมพ์ |
|
เลขหน้า |
103 |
หัวเรื่อง |
|
หัวเรื่อง |
|
หัวเรื่อง |
|
เอกสารฉบับเต็ม |
Center of Academic Resource
Institute of Technology 1771/1, E Building, Fl. 2,
Pattanakarn Rd, Suan Luang, Bangkok, 10250