fieldid
เขตข้อมูล | ข้อมูล |
บทคัดย่อ |
อิทธิพลของอัตลักษณ์องค์กรที่เป็นตัวแปรคันกลางของความสัมพันธ์ระหว่างแรงจูงใจและความผูกพันธ์ต่อองค์กรของพนักงานเจเนเรชั่นวาย : การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างแรงจูงใจตามทฤษฎี ERG อัตลักษณ์องค์กร และความผูกพันต่อองค์กร และอิทธิพลของอัตลักษณ์องค์กรในฐานะตัวแปรคั่นกลางที่ส่งผลต่อความสัมพันธ์ดังกล่าว ตามแนวคิดและทฤษฎีความผูกพันต่อองค์กร ในกลุ่มพนักงาน เจเนอเรชั่นวาย (เกิดระหว่าง พ.ศ. 2524 ถึง พ.ศ. 2543) ในเขตกรุงเทพฯและปริมณฑล จานวน 426 คน ด้วยแบบสอบถาม นาผลการสารวจมาวิเคราะห์และประมวลผลข้อมูลด้วยโปรแกรมสาเร็จรูปทางสถิติ SPSS ใช้สถิติ ค่าความถี่ (Frequency) ค่าร้อยละ (Percentage) ค่าเฉลี่ย (Mean) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน (Pearson’s Correlation Coefficient) และการวิเคราะห์ความถดถอยพหุเชิงชั้น (Hierarchical Multiple Regression) พบว่า กลุ่มตัวอย่างร้อยละ 64.60 เป็นเพศหญิง ร้อยละ 48.12 มีอายุระหว่าง 23-28 ปี ร้อยละ 50.70 มีคู่สมรส ร้อยละ 84.04 จบการศึกษาระดับปริญญาตรี ร้อยละ 65.50 มีอายุงานอยู่ระหว่าง 3-4 ปี ร้อยละ 45.10 มีรายได้เฉลี่ย 20,001-25,000 บาทต่อเดือน และร้อยละ 65.50 อยู่ในระดับตาแหน่งที่มีผู้ใต้บังคับบัญชา ผลการทดสอบสมมติฐานพบว่า แรงจูงใจตามทฤษฎี ERG อัตลักษณ์องค์กร และความผูกพันต่อองค์กร มีความสัมพันธ์กันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ และยังพบว่า แรงจูงใจตามทฤษฎี ERG มีอิทธิพลต่ออัตลักษณ์องค์กร และอัตลักษณ์องค์กรส่งผลต่อความผูกพันต่อองค์กร ซึ่งสนับสนุนสมมติฐานงานวิจัย
|
ผู้แต่ง |
|
ประเภทสิ่งพิมพ์ |
|
เลขหน้า |
63 |
หัวเรื่อง |
|
หัวเรื่อง |
|
หัวเรื่อง |
|
หัวเรื่อง |
|
เอกสารฉบับเต็ม |
Center of Academic Resource
Institute of Technology 1771/1, E Building, Fl. 2,
Pattanakarn Rd, Suan Luang, Bangkok, 10250