fieldid E-Thesis & Research สถาบันเทคโนโลยีไทย-ญี่ปุ่น
สืบค้น:

เขตข้อมูล ข้อมูล
บทคัดย่อ
กระบวนการจัดการความรู้ของคู่มือฉลากสินค้า : การศึกษาวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อปรับปรุงประสิทธิภาพในการวางจำหน่ายสินค้าใหม่ โดยเน้นไปที่ตัวสินค้ากับกลุ่มคู่ค้าปัจจุบันและคู่ค้ารายใหม ่และเพื่อลดความเสี่ยงการกระทำผิด ในการแสดงข้อมูลของสินค้าที่กฎหมายได้กำหนดไว ้โดยการจัดทำข้อมูลเพื่อเป็นองค์ความรู้ ให้กับบุคคลากรได้นำเอาความรู้มาถ่ายทอดกับบุคคลที่เกี่ยวข้อง ในการวิจัยครั้งนี้ผู้วิจัยได้ทํา การสำรวจและเก็บรวบรวมข้อมูลของกลุ่มสินค้าที่มีความเสี่ยงที่อาจจะก่อให้เกิดการกระทํา ความผิดในทางกฎหมายพระราชบัญญัติอาหาร พ.ศ. 2522 ผลการวิจัยพบว่า กลุ่มประชากรที่ เข้ารับการอบรมและทำการทดสอบ มีความเข้าใจในเนื้อหาที่ทำการอบรมเกี่ยวกับการแสดง ฉลากอาหาร ตามพระราชบัญญัติอาหาร พ.ศ.2522 มีความเข้าใจที่เพิ่มขึ้นโดยเฉลี่ย ร้อยละ 5.2 และจากการทดสอบความเข้าใจในการจัดทำฉลากที่ลดระยะเวลาในการจัดทำจาก 1 เดือน เป็น 1 สัปดาห์ และเมื่อนำความรู้ทีได้รับจากการอบรม ไปทบทวนการกระทำความผิดที่เกิดจากการ วางจำหน่ายสินค้าที่แสดงฉลากไม่ถูกต้องโดยแบ่งตามหมวดสินค้า จำนวน 9 กลุ่ม จากการ วิเคราะห์การกระทำที่เสี่ยงต่อการกระทำผิดกฎหมายทั้ง 9 กลุ่มชนิดนั้น มีค่าปรับรวมกัน ทั้งหมดอยู่ที่ 2,700,000 บาท (เฉพาะส่วนของสินค้าไม่รวม นิติบุคล และผู้จำหน่าย) ซึ่งจะเห็น ว่าในกลุ่มของ Produce มีสัดส่วนของค่าปรับมากถึง 26.7% รายการสินค้า 24 รายการ จาก สัดส่วนของทั้งหมด และกลุ่มของ Bakery และ Inter Snack & Beverage มีความเสี่ยงที่กระทํา ผิดน้อยที่สุดอยู่ที่ 2.2% จากสัดส่วนทั้งหมด จำนวนสินค้าที่ก่อให้เกิดความเสี่ยงต่อการกระทํา ผิดกฎหมายจากรายการสินค้าทั้งหมด 93 ชนิดและหลังจากที่ผู้วิจัยได้เข้าไปวิเคราะห์ปัญหา แล้วทำการแก้ไ
ผู้แต่ง
ประเภทสิ่งพิมพ์
เลขหน้า
120
หัวเรื่อง
หัวเรื่อง
หัวเรื่อง
หัวเรื่อง
เอกสารฉบับเต็ม