fieldid
เขตข้อมูล | ข้อมูล |
บทคัดย่อ |
การทาเหมืองข้อมูลขนาดใหญ่เพื่อดึงข้อมูล และค้นหาความรู้จากฐานข้อมูล TNI’s Registration เพื่อใช้วางแผนในการบริการการศึกษายุค Digital 4.0 : การวิเคราะห์ข้อมูลนักศึกษา เพื่อค้นหาองค์ความรู้ใหม่ด้วยวิธีการทำ เหมืองข้อมูลพร้อมทั้ง
การนำทฤษฎีรูปแบบการเรียนรู้ 4MAT และ Bloom’s Taxonomy ที่สามารถอธิบายและมีความ
สอดคล้องกับกรอบแนวคิดการพัฒนา Education 4.0 พร้อมทั้งสามารถเสนอกิจกรรมหรือแผนการ
เรียนการสอนให้สัมพันธ์กับเป้าประสงค์อย่างมีประสิทธิภาพ การแบ่งประเภทของพฤติกรรมโดย
อาศัยทฤษฎีการเรียนรู้และจิตวิทยาพื้นฐาน
เนื่องด้วยความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีและความพยายามในการปรับปรุงการศึกษาที่
มุ่งเน้นการปรับปรุงกระบวนการเรียนรู้ให้สนับสนุนการพัฒนาเศรษฐกิจและอุตสาหกรรม โดยนำ
ข้อมูลนักศึกษาของสถาบันเอกชนแห่งหนึ่ง ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2550 - พ.ศ. 2559 จำนวน 14,150 ราย และ
ข้อมูลรายวิชาอีก 808 รายวิชา นำมาวิเคราะห์โดยใช้เทคนิคการทำเหมืองข้อมูลด้วยการหาค่า
ความสัมพันธ์ การแบ่งกลุ่มข้อมูล การสร้างโมเดลเพื่อทำนาย อันเป็นวิธีการค้นหาความรู้โดยหา
ความสัมพันธ์ระหว่างคะแนนกับรูปแบบการเรียนรู้ ซึ่งสามารถสรุปได้ว่า รายวิชาที่จัดอยู่ในกลุ่ม
ของประเภทบูรณาการและสังเคราะห์ คิดเป็น 33.4 % (353 วิชา) ตามด้วยกลุ่มรายวิชารูปแบบ
วิเคราะห์ 31.1 % (328 วิชา) รูปแบบสามัญสำนึก 29% (306 วิชา) และรูปแบบจิตนาการ 1.7 % (18
วิชา) ตามลำดับ ซึ่งเมื่อทำการแบ่งกลุ่มด้วยเทคนิค K-Means พบว่าผู้เรียนที่มีรูปแบบการเรียนรู้
Imaginative 38.2 % (1,132 ราย) มีค่าเฉลี่ยคะแนน 3.31 ผู้เรียนที่มีรูปแบบการเรียนรู้แบบ Analytic
จา นวน 40.8 % (4,875 ราย) มีค่าคะแนนเฉลี่ย 2.04 ผู้เรียนที่มีรูปแบบการเรียนรู้ Common Sense
จา นวน 38.8 % (3,786 ราย) มีค่าคะแนนเฉลี่ย 2.55 และผู้เรียนที่มีรูปแบบการเรียนรู้ Dynamic
จา นวน 37.1 % (4,143 ราย) มีค่าเฉลี่ยคะแนนเท่ากับ 2.67 อีกทั้
|
ผู้แต่ง |
|
ประเภทสิ่งพิมพ์ |
|
เลขหน้า |
75 |
หัวเรื่อง |
|
หัวเรื่อง |
|
หัวเรื่อง |
|
เอกสารฉบับเต็ม |
Center of Academic Resource
Institute of Technology 1771/1, E Building, Fl. 2,
Pattanakarn Rd, Suan Luang, Bangkok, 10250