fieldid
เขตข้อมูล | ข้อมูล |
บทคัดย่อ |
ปัจจัยส่วนผสมการตลาดที่มีผลต่อการตัดสินใจเลือกซื้อปุ๋ยอินทรีย์ของเกษตรกร กรณีศึกษา ในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลบ้านบึง อำเภอบ้านคา จังหวัดราชบุรี : การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยด้านประชากรส่วนประสม
ทางการตลาดที่มีผลต่อความภักดีในตราสินค้า และที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจเลือกซื้อ
ปุ๋ยอินทรีย์ กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ เกษตรกรในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลบ้านบึง อำเภอ
บ้านคา จังหวัดราชบุรี จำนวน 290 คน เครื่องมือในการศึกษา คือ แบบสอบถาม สถิติที่ใช้
ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าความถี่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
Independent Sample, T-Test, One-Way Analysis of Variance และ Simple Linear
Regression Analysis
กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ เป็นเพศชาย อายุระหว่าง 46–55 ปี มีวุฒิการศึกษาระดับ
มัธยมศึกษา มีขนาดพื้นที่การเพาะปลูกน้อยกว่า 10 ไร่ และมีรายได้ในครัวเรือน (ต่อเดือน)
5,001-10,000 บาท มีพฤติกรรมเคยซื้อผลิตภัณฑ์ปุ๋ยอินทรีย์ เลือกซื้อตราอื่นๆ จาก
ร้านค้าท้องถิ่นในตำบลบ้านบึง เป็นปุ๋ยอินทรีย์สูตรเร่งต้น มีปริมาณการซื้ออยู่ที่ 7–9
กระสอบ มีความถี่ในการซื้อ 2 ครั้งต่อปี ปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดมีอิทธิพลต่อการ
ตัดสินใจซื้อปุ๋ยอินทรีย์ อยู่ในเกณฑ์มาก ความจงรักภักดีมีอิทธิพลต่อการตัดสินใจซื้อ
ปุ๋ยอินทรีย์ อยู่ในเกณฑ์มาก
ผลการทดสอบสมมติฐาน พบว่า เกษตรกรที่มีอายุ วุฒิการศึกษา รายได้ใน
ครัวเรือน ต่างกันมีผลต่อความภักดีในตราสินค้าแตกต่างกัน ขณะที่ปัจจัยส่วนประสมทาง
การตลาดทุกด้าน (ด้านผลิตภัณฑ์ ด้านราคา ด้านการจัดจำหน่าย ด้านการการส่งเสริม
การตลาด) มีผลต่อความภักดีในตราสินค้าอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05
จากผลการศึกษาผู้จำหน่ายปุ๋ยอินทรีย์ ควรให้ความสำคัญกับปัจจัยส่วนบุคคล
ทางด้านอายุ วุฒิการศึกษา และรายได้ในครัวเรือน เพื่อพัฒนาระดับของความจงรักภักดีต่อ
ตราสินค้าให้มากขึ้น ในขณะเดียวกันแนวทางใน
|
ผู้แต่ง |
|
ประเภทสิ่งพิมพ์ |
|
ปีที่พิมพ์ |
1 |
เลขหน้า |
120 |
หัวเรื่อง |
|
หัวเรื่อง |
|
หัวเรื่อง |
|
เอกสารฉบับเต็ม |
Center of Academic Resource
Institute of Technology 1771/1, E Building, Fl. 2,
Pattanakarn Rd, Suan Luang, Bangkok, 10250