fieldid E-Thesis & Research สถาบันเทคโนโลยีไทย-ญี่ปุ่น
สืบค้น:

เขตข้อมูล ข้อมูล
บทคัดย่อ
การรับรู้เครื่องมือการบริหารแบบญี่ปุ่นและการฝึกอบรมส่งผลต่อประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของพนักงาน กรณีศึกษา องค์กรญี่ปุ่นแห่งหนึ่ง : การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) ระดับการรับรู้เครื่องมือการบริหารแบบญี่ปุ่น การฝึกอบรมและประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของพนักงาน 2) เปรียบเทียบลักษณะประชากรศาสตร์ ส่งผลต่อเครื่องมือการบริหารแบบญี่ปุ่น และการฝึกอบรม 3) เครื่องมือการบริหารแบบญี่ปุ่น ส่งผลต่อประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของพนักงาน 4) การฝึกอบรมส่งผลต่อประสิทธิภาพการ ปฏิบัติงานของพนักงาน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยในครัง้ นี้ คือ พนักงานฝ่ายการผลิตทัง้ หมด ของบริษัทญี่ปุ่นแห่งหนึ่ง จำนวน 50 คน โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บข้อมูล สถิติที่ใช้ ประกอบด้วย ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าร้อยละ One-way Analysis of Variance (ANOVA) การหาค่าสัมประสิทธิส์ หสัมพันธ์เพียร์สัน การวิเคราะห์การถดถอยเชิงเส้น อย่างง่าย และการวิเคราะห์การถดถอยเชิงพหุ ผลการทดสอบพบว่า ระดับการรับรู้เครื่องมือการบริหารแบบญี่ปุ่น การฝึกอบรม และ ประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของพนักงาน อยู่ในระดับมากที่สุด มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.29 (S.D. = 0.691), 4.29 (S.D. = 0.691) และ 4.31 (S.D. = 0.633) ตามลำดับ และยังพบว่า เพศ อายุ ระดับการศึกษา แผนก และตำแหน่งงานปจั จุบันมีการรับรู้เกี่ยวกับ เครื่องมือการบริหารแบบญี่ปุ่น และการฝึกอบรม ไม่แตกต่างกัน และยังพบว่า การรับรู้เครื่องมือการบริหารแบบญี่ปุ่น ด้านการปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง (Kaizen) และด้านการขจัดความสูญเปล่า (Eliminating Waste/MUDA) ส่งผลต่อประสิทธิภาพ การปฏิบัติงานของพนักงาน (Operational Performance) มีอำนาจการพยากรณ์ที่ร้อยละ 78.2 อย่างมีนัยทางสถิติที่ระดับ 0.01 และพบว่า การฝึกอบรบส่งผลต่อประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของพนักงาน(Operational Performance) ที่ร้อยละ 67.7 อย่างมีนัยทางสถิ
ผู้แต่ง
ประเภทสิ่งพิมพ์
เลขหน้า
128
หัวเรื่อง
หัวเรื่อง
หัวเรื่อง
เอกสารฉบับเต็ม