fieldid E-Thesis & Research สถาบันเทคโนโลยีไทย-ญี่ปุ่น
สืบค้น:

เขตข้อมูล ข้อมูล
บทคัดย่อ
การประยุกต์ใช้ IE เทคนิค ในโรงงานผลิตสปริงบูซเตอร์ : จากอุปสงค์ที'เพ'ิมสูงขึ4นของอุตสาหกรรมยานยนต์และชิ4นส่วนที'มีความสำคัญต่อ ประเทศเป็นอย่างยง'ิ ทัง4 การว่าจ้างแรงงานและการพัฒนาเทคโนโลยีของประเทศ ทำให้ยอด การสัง' ซือ4 ของบริษัทผู้ผลิตรถยนต์และชิ4นส่วนสูงขึน4 ส่งผลกระทบให้กำลังการผลิตในปรกติไม่ เพียงพอและส่งมอบงานล่าช้า บริษัทผู้ผลิตยานยนต์และชิ4นส่วนต้องเพ'ิมกำลังการผลิตให้ สอดคล้องกับยอดการสั ' งซื4อ เพื'อแก้ไขปัญหาการส่งงานล่าช้า การแก้ไขทีท' ำได้ทันที คือ การ เพม'ิ ทรัพยากรด้านกำลังคน เช่นเดียวกับไลน์บูซเตอร์ทีต' ้องเพม'ิ คนในกะกลางคืนแต่ขาดการจัด สมดุลการผลิต การประยุกต์ใช้ IE เทคนิค ครัง4 ที' 1 คือ การจัดสมดุลการผลิต การปรับปรุงโดยใช้ หลักการ ECRS สามารถลดความสูญเปล่าจากการรอคอยน้อยลงประสิทธิภาพการจัดสมดุล ผลิตเพม'ิ ขึ4นจากก่อนการปรับปรุงร้อยละ 61 เป็นร้อยละ 74 กำลังการผลิตเพม'ิ ขึน4 ร้อยละ 33 ผลิตภาพแรงงานเพม'ิ ขึน4 ร้อยละ 33 แต่ยังไม่บรรลุวัตถุประสงค์ด้านต้นทุนค่าแรงที'เพม'ิ ขึน4 จึง ต้องปรับปรุงครัง4 ที ' 2 การปรับปรุงครัง4 ที ' 2 พิจารณาการเพม'ิ ทรัพยากรด้านเครื'องจักรเนื'องจากไม่สามารถ เพม'ิ ทรัพยากรด้านกำลังคนได้ โดยมีการพิจารณาการเพม'ิ เครื'องจักรจากการวิเคราะห์ตาราง ภาระงาน การใช้เอกสาร A3 Document เพื'อขออนุมัติ หลังจากทีเ' พม'ิ เครื'องและจัดสมดุลการ ผลิตใหม่ทำให้มีความสมดุลในการผลิตมากขึ4น สามารถเพ'ิมกำลังการผลิตได้ร้อยละ 84 ประสิทธิภาพการจัดสมดุลผลิตเพม'ิ ขึน4 จากร้อยละ 61 เป็นร้อยละ 89 ผลิตภาพแรงงานเพม'ิ ขึน4 ร้อยละ 38 สามารถลดพนักงานได้ 2 คน จากการลดกะการทำงานในกลางคืนลดต้นทุนได้ 467,568 บาทต่อปี เมื'อคำนวณจุดคุ้มทุนจากต้นทุนการสัง' ซือ4 เครื'องจักรและอุปกรณ์ คือ 5.2 เดือน ถือว่าคุ้มค่าในก
ผู้แต่ง
ประเภทสิ่งพิมพ์
ปีที่พิมพ์
1
เลขหน้า
83 หน้า
หัวเรื่อง
หัวเรื่อง
เอกสารฉบับเต็ม