fieldid
เขตข้อมูล | ข้อมูล |
บทคัดย่อ |
การประยุกต์ใช้วิธีการจัดสมดุลสายการประกอบในการผลิตช่องแอร์รถยนต์ : งานวิจัยนี้ประยุกต์ใช้วิธีการจัดสมดุลสายการประกอบสำหรับแก้ปัญหาการจัดสมดุลสาย
การประกอบช่องแอร์รถยนต์ของบริษัทแห่งหนึ่งในจังหวัดสมุทรปราการ โดยทำการศึกษาผลิตภัณฑ์
ช่องแอร์รถยนต์จำนวน 3 โมเดล ที่มีประสิทธิภาพความสมดุลสายการประกอบในระดับที่ต่ำ โดย
ทั้งหมดมีประสิทธิภาพไม่ถึง 80% มาใช้กับวิธีการจัดสมดุลสายการประกอบ 12 วิธีได้แก่ Largest
Candidate Rule (LCR), Ranked Positional Weight Method (RPW), Most Following Work
Element Method using Longest Work Element Time Rule as the Secondary Criterion
(MFWEL), Most Following Work Element Method using Shortest Work Element Time
Rule as the Secondary Criterion (MFWES), Least Following Work Element Method
using Longest Work Element Time Rule as the Secondary Criterion (LFWEL), Least
Following Work Element Method using Shortest Work Element Time Rule as the
Secondary Criterion (LFWES) และวิธีการย้อนกลับ (Reverse) ของทุกวิธีการ ข้อมูลทั้ง 3 โมเดล
ได้มาจากข้อมูลจริงที่ทำการจดบันทึกมาจากสายการผลิต
จากการทดลองพบว่าผลจากการประยุกต์ใช้วิธีการข้างต้นทำให้ทุกโมเดลมีประสิทธิภาพ
ความสมดุลสายการประกอบเพิ่มขึ้น โดยโมเดลที่ 1 วิธีการ R-RPW, R-MFWEL และ R-MFWES ทำ
ให้ประสิทธิภาพเพิ่มขึ้นได้สูงสุดเป็น 99.5% และจำนวนสถานีงาน ลดลง 2 สถานีงาน ในโมเดลที่ 2
วิธีการ MFWES ทำให้ประสิทธิภาพเพิ่มขึ้นได้สูงสุดเป็น 81.2% และจำนวนสถานีงานลดลง 1 สถานีงาน
และสำหรับโมเดลที่ 3 วิธีการ R-RPW และ R-MFWEL ทำให้ประสิทธิภาพเพิ่มขึ้นได้สูงสุดเป็น
82.8% และจำนวนสถานงานเท่าเดิม โดยเฉลี่ยแล้ว R-MFWES เป็นวิธีที่ดีที่สุดที่ให้ค่าเปอร์เซ็นต์
ประสิทธิภาพสมดุลสายการป
|
ผู้แต่ง |
|
ประเภทสิ่งพิมพ์ |
|
ปีที่พิมพ์ |
1 |
เลขหน้า |
78 หน้า |
หัวเรื่อง |
|
หัวเรื่อง |
|
หัวเรื่อง |
|
เอกสารฉบับเต็ม |
Center of Academic Resource
Institute of Technology 1771/1, E Building, Fl. 2,
Pattanakarn Rd, Suan Luang, Bangkok, 10250