fieldjournalid
![]() | งานวิจัย คณะวิศวกรรมศาสตร์ 2014 |
1. | การออกแบบและพัฒนาเครื่องอัดขึ้นรูปร้อนขนาดเล็ก สำหรับการประยุกต์ใช้ในเซลล์เชื้อเพลิงแบบพอลิเมอร์อิเล็กโตรไลท์ [แสดงบทคัดย่อ] [ซ่อนบทคัดย่อ] | |
ผู้แต่ง : ณัฐพล ลิ้มจีระจรัส | ||
Full Text : Download! |
||
2. | การสร้างแบบจำลองเชิงตัวเลขของเซลล์เชื้อเพลิงแบบ พอลิเมอร์อิเล็กโตรไลท์ ในรูปแบบท่อส่งก๊าซพาณิชย์ที่แตกต่างกัน โดยใช้โปรแกรม ANSYS FLUENT [แสดงบทคัดย่อ] [ซ่อนบทคัดย่อ] | |
ผู้แต่ง : ณัฐพล ลิ้มจีระจรัส | ||
Full Text : Download! |
||
3. | Design and Development of Secure Wireless Communication System Using Chaotic Masking Technique and Adaptive-Synchronization Receiver [แสดงบทคัดย่อ] [ซ่อนบทคัดย่อ] | |
ผู้แต่ง : Wimol San-Um | ||
Full Text : Download! |
||
4. | รายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์ การจัดตั้งห้องปฏิบัติการวิจัยระบบอิเล็กทรอนิกส์อัจฉริยะ [แสดงบทคัดย่อ] [ซ่อนบทคัดย่อ] | |
ผู้แต่ง : วิมล แสนอุ้ม | ||
ห้องปฏิบัติการวิจัยระบบอิเล็กทรอนิกส์อัจฉริยะ ณ สถาบันเทคโนโลยีไทย-ญี่ปุ่น ได้จัดตั้งขึ้น เพื่อผลิตผลงานวิจัยในรูปแบบรายงานการวิจัยในวารสารและที่ประชุมวิชาการนานาชาติด้านวิศวกรรมไฟฟ้าสื่อสารและอิเล็กทรอนิกส์กาลัง และเพื่อจัดทาการปฏิบัติการและคู่มือด้านระบบและอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ขั้นสูงด้านวิศวกรรมไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ นอกจากนี้ยังเพื่อเพื่อบูรณาการในการเรียนการสอนระดับปริญญาโทสาขาวิชาเทคโนโลยีวิศวกรรม ระดับปริญญาตรีสาขาวิชาวิศกรรมคอมพิวเตอร์และวิศวกรรมไฟฟ้าอีกทั้งเตรียมพร้อมการบริการวิชาการแก่ภาคอุตสาหกรรมด้านการให้คาปรึกษาหรือการออกแบบระบบอิเล็กทรอนิกส์เพื่อสร้างนวัตกรรมใหม่ ในส่วนของการวิจัยได้มุ่งเน้นการศึกษาระบบพลวัตที่ไม่เป็นเชิงเส้น (Nonlinear Dynamics) รวมทั้งเป็นระบบอัจฉริยะ (Intelligence) สามารถเรียนรู้จดจา (Recognition) และสามารถปรับตัวเอง (Adaptive) ซึ่งส่งผลให้สามารถนามาประยุกต์ใช้งานในรูปแบบของระบบสมองกลฝังตัว (Embedded System) และเหมาะสมต่อการพัฒนาบนเทคโนโลยีทรานซิสเตอร์ขนาดเล็กได้เป็นอย่างดี ซึ่งองค์ความรู้ประกอบการศึกษาออกแบบอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์แบบอัจฉริยะดังกล่าวประกอบด้วย ทฤษฏีความไม่เป็นเชิงเส้น (Nonlinear Theory) ทฤษฎีความอลวน (Chaos Theory) ทฤษฏีโครงข่ายประสาทเทียม (Artificial Neural Network) ทฤษฏีระบบความคุม (Control Theory) และองค์ความรู้ด้านการออกแบบระบบและวงจรอิเล็กทรอนิกส์ด้วยเทคโนโลยีซีมอส รวมทั้งการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีไมโครคอนโทรลเลอร์และบอร์ดเอฟพีจีเอ ผลการดาเนินงานที่ผ่านมาสามารถประสบความสาเร็จเป็นอย่างดีทั้งทางด้านการเรียนการสอนในระดับปริญญาโทและปริญญาตรีในหลายรุ่นซึ่งนักศึกษาสามารถจบภายใน 2 ปี และมีผลงานตีพิมพ์ในระดับนานาชาติทั้งสิ้น ในส่วนข
Full Text : Download! |
||
Center of Academic Resource
Institute of Technology 1771/1, E Building, Fl. 2,
Pattanakarn Rd, Suan Luang, Bangkok, 10250