fieldjournalid
![]() | งานวิจัย สำนักวิชาพื้นฐานและภาษา 2016 |
1. | Effects of English Instruction as a Foreign Language by Using MIAP Model: A Case of Thai-Nichi Institute of Technology [แสดงบทคัดย่อ] [ซ่อนบทคัดย่อ] | |
ผู้แต่ง : Bundit Anuyahong | ||
The purposes of this study were 1) to study effects of English instruction as a foreign language by using MIAP model : a case of Thai-Nichi Institute of Technology 2) to compare learning ability of the students before and after the class 3) to compare learning ability of experimental group and controlled group, and 4) to investigate satisfaction with the MIAP model of the TNI student
The research samples were 50 undergraduate students in higher education level derived through simple random sampling technique in first semester of 2016 academic year The instrumentation for gathering the data were lesson plans based on MIAP model a test and a satisfaction questionnaire. Statistics used for analyzing the data were frequency percentage, mean, standard deviation, t-test, effect size and content analysis. Research findings were as follows
1.Effects of English instruction as a foreign language by using MIAP model of the TNI students were at very high level
2.The learning ability of the learners after the class was higher than before the class and there were statistically significant differences at 0.05 level
3.The learning ability of experimental group was statistically significant differences at 0.05 level
4.The learners was highly satisfied with the English instruction as a foreign language by using MIAP model
Full Text : Download! |
||
2. | A Development of Research Supervision Model for an Enhancement on Instructional Research Competency of Language Lecturers [แสดงบทคัดย่อ] [ซ่อนบทคัดย่อ] | |
ผู้แต่ง : Bundit Anuyahong | ||
The purposes of this research were to develop instructional research supervision model to enhance research competency of language lecturers and to assess the effects of the use of research supervision model as following methods: 1) to assess the competency in research supervision of mentors, 2) to assess knowledge and understanding about instructional research of the language lecturers, 3) to assess knowledge and understanding about research supervision of the mentors, 4) to assess instructional research competency of language lecturers, 5) to assess the language lecturers’ satisfaction towards instructional research supervision model, 6) to assess the instructional research report’s quality of the language lecturers, and 7) to follow up efficiency of lecturer’s instructional research from a number of research
published in international conference/national conference or a journal.
The population was 50 language lecturers at College of General Education and Languages, Thai-Nichi Institute of Technology, Bangkok, Thailand. The samples were 13 language lecturers derived through volunteer random sampling techniques. The research instruments comprised of tests, questionnaire, observation forms, interview forms, and assessment forms. Data were analysed in terms of percentage, means, standard deviation, t-test, and content analysis.
Research findings were found as follows: 1) the instructional research supervision model to enhance research competency of language lecturers was pro
Full Text : Download! |
||
3. | ผลของการนิเทศแบบคลีนิค เพื่อเสริมสร้างความสามารถการทำวิจัยของนักวิจัยรุ่นใหม่ [แสดงบทคัดย่อ] [ซ่อนบทคัดย่อ] | |
ผู้แต่ง : บัณฑิต อนุญาหงษ์ | ||
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาสมรรถภาพในด้านความรู้ความเข้าใจของนักวิจัยรุ่นใหม่เกี่ยวกับการทำการวิจัย 2) เพื่อเปรียบเทียบความรู้ความเข้าใจในการทำวิจัยก่อนและหลังการนิเทศของนักวิจัยรุ่นใหม่ 3) เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักวิจัยรุ่นใหม่ที่มีต่อการนิเทศแบบคลีนิค 4) เพื่อศึกษาคุณภาพของรายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์และ 5) เพื่อติดตามผลการเผยแพร่ตีพิมพ์ในวารสารหรือการประชุมวิชาการระดับชาติหรือนานาชาติ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยในครั้งนี้ ได้แก่ อาจารย์ประจำแผนกภาษาอังกฤษและภาษาญี่ปุ่น สำนักวิชาพื้นฐานและภาษา สถาบันเทคโนโลยีไทย-ญี่ปุ่น ปีการศึกษา 2558-2559 จำนวน 15 คน ได้มาโดยการสุ่มอย่างง่าย (Simple Random Sampling Technique) เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่ แบบทดสอบความรู้ความเข้าใจของนักวิจัยรุ่นใหม่เกี่ยวกับการทำการวิจัย แบบสอบถามความพึงพอใจของนักวิจัยรุ่นใหม่ที่มีต่อนิเทศแบบคลีนิค และแบบประเมินรายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย () และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.)
ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้
1) สมรรถภาพในด้านความรู้ความเข้าใจของนักวิจัยรุ่นใหม่เกี่ยวกับการทำการวิจัยโดยรวมอยู่ในระดับดีมาก
2) นักวิจัยรุ่นใหม่มีความรู้ความเข้าใจหลังการนิเทศแบบคลินิคสูงกว่าก่อนการนิเทศอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05
3) ความพึงพอใจของนักวิจัยรุ่นใหม่ที่มีต่อการนิเทศแบบคลีนิคโดยรวมอยู่ในระดับมาก
4) ผลของการนิเทศแบบคลีนิคในการดำเนินการวิจัยจากรายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์พบว่าอยู่ในระดับดี และ
5) จำนวนบทความวิจัยที่ได้มีการเผยแพร่ตีพิมพ์ในวารสารหรือการประชุมวิชาการระดับชาติหรือนานาชาติ เป็นจำนวน 15 เรื่อง
Full Text : Download! |
||
4. | รายงานวิจัยเรื่อง ผลของการพูดภาษาอังกฤษของนักศึกษาระดับอุดมศึกษาที่เรียนด้วยรูปแบบการเรียนการสอนภาษาอังกฤษตามแนวทฤษฎีการสอนเพืื่อการสื่อสาร [แสดงบทคัดย่อ] [ซ่อนบทคัดย่อ] | |
ผู้แต่ง : กรทิพย์ รัตนภุมมะ, บัณฑิต อนุญาหงษ์ | ||
การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาผลการพูดภาษาอังกฤษของนักศึกษาที่เรียนด้วยการเรียนการสอนภาษาอังกฤษตามแนวทฤษฎีการสอนเพื่อการสื่อสาร 2) เพื่อเปรียบเทียบความสามารถการพูดภาษาอังกฤษก่อนและหลังเรียนด้วยรูปแบบการเรียนการสอนภาษาอังกฤษตามแนวทฤษฎีการสอนเพื่อการสื่อสาร 3) เพื่อประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาหลังจากเรียนวิธีการเรียนการสอนภาษาอังกฤษตามแนวทฤษฎีการสอนเพื่อการสื่อสาร
กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยในครั้งนี้ ได้แก่ นักศึกษาสถาบันเทคโนโลยีไทย-ญี่ปุ่น ภาคการศึกษาที่ 2 ปีการศึกษา 2559 จานวน 55 คน ได้มาโดยการสุ่มอย่างง่าย (Simple Random Sampling Technique) เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่ แบบทดสอบก่อนเรียน (Pre-test) โดยการบรรยายภาพ และแบบทดสอบหลังเรียน (Post-test) โดยการบรรยายภาพ แผนการสอนแบบการสอนการพูดภาษาอังกฤษตามแนวทฤษฏีการสอนเพื่อการสื่อสาร แบบประเมินทักษะการพูดภาษาอังกฤษตามแนวทฤษฏีการสอนเพื่อการสื่อสาร และแบบสอบถามความพึงพอใจต่อทักษะการพูดภาษาอังกฤษตามแนวทฤษฏีการสอนเพื่อการสื่อสาร เครื่องมือที่ใช้ในการทดลอง คือแบบทดสอบความสามารถในการพูดภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารจานวน 4 กิจกรรม หลังจากทาแบบทดสอบครบทั้ง 4 กิจกรรม นักศึกษาทาแบบสอบถามความพึงพอใจต่อกิจกรรมการพูด สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย x̅ ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) การทดสอบที (t-test) การวิเคราะห์ความแปรปรวนแบบทางเดียว (one way ANOVA) หรือ F-test และวิธีการวิเคราะห์เนื้อหา (Content Analysis)
ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้
1. นักศึกษาสถาบันเทคโนโลยีไทย-ญี่ปุ่น ที่เรียนด้วยการเรียนการสอนภาษาอังกฤษตามแนวทฤษฎีการสอนเพื่อการสื่อสารมีระดับความสามารถในการพูดอยู่ในระดับสูง
2. ก
Full Text : Download! |
||
5. | รายงานการวิจัย ทักษะการอ่านภาษาอังกฤษของวิศวกรอุตสาหกรรมยานยนต์ [แสดงบทคัดย่อ] [ซ่อนบทคัดย่อ] | |
ผู้แต่ง : กฤษณะ โฆษชุณหนันท์ | ||
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาทักษะการอ่านและอุปสรรคของทักษะการอ่านของวิศวกรอุตสาหกรรมยานยนต์ กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ วิศวกรที่ทำงานในอุตสาหกรรมยานยนต์จำนวน 30 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือ แบบสัมภาษณ์ ผลการวิจัย พบว่า วิศวกรที่ทำงานในอุตสาหกรรมยานยนต์ มีประสบการณ์ในการทำงาน 10 ปีขึ้นไป ดำรงตำแหน่งอยู่ในระดับผู้จัดการ และผู้ช่วยผู้จัดการ ด้านความถี่การอ่านภาษาอังกฤษของกลุ่มตัวอย่างเฉลี่ยวันละ 6-10 ครั้งๆ ประมาณ 15-20 นาทีขึ้นไป โดยอ่านภาษาอังกฤษจากสื่อต่างๆ ตามลาดับ ดังนี้ 1) ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ 2) คู่มือที่เป็นภาษาอังกฤษ และ3) ข้อมูลจากอินเทอร์เน็ตที่เป็นภาษาอังกฤษ จุดมุ่งหมายของการอ่านภาษาอังกฤษ คือ 1) เพื่อตอบสนองความต้องการอื่นๆ 2) เพื่อความรู้ และ 3) เพื่อให้เกิดความคิด อุปสรรคทักษะการอ่านภาษาอังกฤษ พบว่า ไม่เข้าใจในอนุเฉท ส่งผลให้ไม่เข้าใจระหว่างอนุเฉท
Full Text : Download! |
||
6. | Communication Strategies of Engineering Studens at a Private University Institute in Bangkok in the Academic Year of 2015 [แสดงบทคัดย่อ] [ซ่อนบทคัดย่อ] | |
ผู้แต่ง : Supatsorn Jindathai | ||
The objective of this study is to investigate which communication strategies (CSs) are most frequently used by first-year engineering students at Mahanakorn University of Technology (MUT), and Thai-Nichi Institute of Technology (TNI) recognised as private university institutes in Bangkok. It also aims to examine the differences of the use of CSs according to gender, high school background, and self-perception of English speaking ability of the participants. An adopted Metcalfe and Noom-Ura’s Oral Communication Strategy Inventory (OCSI) (2013) was employed to collect quantitative data from 361 first-year engineering students whose age ranged from 17 to 29 years during the first semester in the academic year of 2015. Stratified random sampling technique was applied to select participants. Statistics used for analysing the data were frequency, percentage, mean, standard deviation, t-test, F-test or ANOVA, and Scheffe test. The results of this study show that the use of overall oral communication strategies was at a moderate level of use. The students’ most frequently used speaking strategies were message reduction and alternation whereas the least frequently used strategies were accuracy-oriented. As for listening strategies, the most often used strategies were negotiating of meaning whilst listening strategies; on the other hand, the least frequently used strategies were fluency-maintaining. In addition, the overall use of speaking and listening strategies reported by male engi
Full Text : Download! |
||
Center of Academic Resource
Institute of Technology 1771/1, E Building, Fl. 2,
Pattanakarn Rd, Suan Luang, Bangkok, 10250