fieldid
เขตข้อมูล | ข้อมูล |
บทคัดย่อ |
การปรับปรุงและเพิ่มประสิทธิภาพการทำงานใน Line Washing Tray โดยใช้หลักการการไคเซ็นงานมาตรฐาน และ Kara Kuri Kaizen : กรณีศึกษา บริษัท สยามเด็นโซ่ แมนูแฟคเจอริ่ง จำกัด : รูปแบบการดำเนินการ ผู้ดำเนินการศึกษาการปฎิบัติงานและสภาพปัจจุบันของ Washing Tray UC line เพื่อนำระบบการผลิตแบบโตโยต้ามาประยุกต์ใช้เป็นแนวทางในการทำ Worksite Control และ Standardized Work และยังมีการนำความรู้ในเรื่อง Kara Kuri Kaizen มาทำการปรับใช้ใน Chutter และพนักงงานเพื่อเป็นแนวทางในการเพิ่มประสิทธิภาพของ Washing Tray UC line วิธีการดำเนินงาน 1. ตรวจสอบสภาพปัจจุบัน 2. ค้นหา Muda และปัญหาต่างๆ 3. ปรับปรุงโดยใช้ Worksite Control 4. ออกแบบและสร้างโมเดล Kara Kuri Chutter 5. เก็บข้อมูล 6. ติดตั้ง Kara Kuri Chutter 7. ออกแบบและสร้าง Cooling Down Stock 8. ติดตั้ง Cooling Down Stock Control 9. จัดทำ Operation manual 10. อัพเดทและปรับปรุง Standarized Work 11. สรุปผลการดำเนินงาน จากการศึกษาสภาพปัจจุบัน ค้นหาปัญหา และMuda พบว่า ไม่มีการทำงานที่เป็นระบบ ไม่สามารถควบคุมสถานะการทำงานได้จึงส่งผลให้เกิดปัญหาการผลิตที่มากเกินไปซึ่งทำให้เกิดการ Over Flow ทั้งในและท้ายไลน์ จึงเข้าไปทำแก้ไข ปรับปรุงปัญหาต่างๆโดยใช้เครื่องมือต่างๆ คือ Operation manual, Operation time analysis, Standardized work, Visualized tool, MIFC เป็นต้น และยังมีการนำระบบ Kara Kuri Kaizen เข้ามาทำการประยุกต์ใช้กับตัวพนักงาน และChutter
|
ผู้แต่ง |
|
ประเภทสิ่งพิมพ์ |
|
ปีที่พิมพ์ |
1 |
เลขหน้า |
60 |
หัวเรื่อง |
|
หัวเรื่อง |
|
หัวเรื่อง |
|
หัวเรื่อง |
|
หัวเรื่อง |
|
หัวเรื่อง |
|
หัวเรื่อง |
|
เอกสารฉบับเต็ม |
Center of Academic Resource
Institute of Technology 1771/1, E Building, Fl. 2,
Pattanakarn Rd, Suan Luang, Bangkok, 10250