fieldid
เขตข้อมูล | ข้อมูล |
บทคัดย่อ |
การปรับปรุงประสิทธิภาพการผลิตของสายการผลิต GD-P3 (Line_sub) : กรณีศึกษา บริษัท เด็นโซ่ (ประเทศไทย) จำกัด พ.ศ.2556 : จากวัตถุประสงค์ของโครงงานนี้คือเพื่อศึกษาการทำงานของพนักงานในสายการผลิตโดยใช้ทฤษฎีการศึกษาเวลาการทำงานและใช้แผนภาพต่างๆเพื่อค้นหาสภาพปัญหาและนำมาวิเคราะห์ด้วย Why-Why analysis ค้นหาแนวทางการปรับปรุงในการลดความสูญเปล่าจากการทำงานและลดเวลาการทำงานของพนักงานเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตของสายการผลิต โดยการกำหนด Buffer Stock เพื่อทดแทนความสูญเปล่าในส่วนของ การรอการแก้ไขเครื่องจักรที่ขัดข้องและทำการหยุดการผลิตเป็นเวลาตั้งแต่ 10 นาที จนถึง 2 ชั่วโมง และในโครงงานนี้ยังได้นำเครื่องมือและแนวคิดของระบบการผลิตแบบโตโยต้ามาใช้ทำการปรับภาระงานของพนักงานด้วยวิธีการทำ Line Balancing เพื่อปรับสมดุลงาน ลด Cycle time ลดจำนวนพนักงาน และเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตของสายการผลิต จากการปรับปรุงการทำงานของพนักงานสามารถลดความสูญเปล่าจากการรอการแก้ไขเครื่องจักรที่ทำการหยุดการผลิตจาก 22.29% เหลือ 11.03% และลด Cycle time ของการทำงานของพนักงานในสายการผลิตจาก 90.7 วินาที เป็น 85 วินาที ตามเป้าหมาย และสามารถลดจำนวนพนักงานในสายการผลิตจาก 7 คน ให้เหลือ 6 คน ซึ่งสามารถเพิ่มประสิทธิภาพการทำงานของพนักงานของสายการผลิตโดยเฉลี่ยจาก 53.60% เป็น 63.77%
|
ผู้แต่ง |
|
ประเภทสิ่งพิมพ์ |
|
ปีที่พิมพ์ |
1 |
เลขหน้า |
80 |
หัวเรื่อง |
|
หัวเรื่อง |
|
หัวเรื่อง |
|
หัวเรื่อง |
|
เอกสารฉบับเต็ม |
Center of Academic Resource
Institute of Technology 1771/1, E Building, Fl. 2,
Pattanakarn Rd, Suan Luang, Bangkok, 10250