fieldid E-Thesis & Research สถาบันเทคโนโลยีไทย-ญี่ปุ่น
สืบค้น:

เขตข้อมูล ข้อมูล
บทคัดย่อ
การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการบริหารการผลิตแบบญี่ปุ่น กับการบริหารคุณภาพของ SMEs ไทย- ญี่ปุ่น : การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) ระดับการบริหารการผลิต แบบญี่ปุ่น และการบริหารคุณภาพของSMEsไทย-ญี่ปุ่น 2) เปรียบเทียบ ปัจจัยองค์กรที่ส่งผลกับการบริหารการผลิตแบบญี่ปุ่น และการบริหารคุณภาพ ของ SMEsไทย-ญี่ปุ่น และ 3) ความสัมพันธ์ระหว่างการบริหารการผลิตแบบ ญี่ปุ่นกับการบริหารคุณภาพกลุ่มตัวอย่างคือ องค์กรธุรกิจSMEs จานวน 64 องค์กร โดยใช้แบบสอบถาม สถิติที่ใช้คือ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าร้อย ละ การทดสอบค่าเฉลี่ย1กลุ่ม การทดสอบความแตกต่างของกลุ่มตัวอย่าง2 กลุ่ม การวิเคราะห์ความแปรปรวน และการวิเคราะห์ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ เพียร์สัน ผลการวิจัยพบว่า 1) การบริหารการผลิตแบบญี่ปุ่นอยู่ในระดับสูง ค่าเฉลี่ย 3.55 และการบริหารคุณภาพอยู่ในระดับสูง ค่าเฉลี่ย 3.92 2) ผลการ เปรียบเทียบการบริหารคุณภาพด้านต้นทุน พบว่าขนาดองค์กรที่มีพนักงาน น้อยกว่า 50 คน มีการบริหารการผลิตแบบญี่ปุ่นด้านมาตรฐานการปฏิบัติงาน ด้าน5ส ด้านการปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง ด้านPDCAด้านHo-Ren-So และการ ขจัดความสูญเปล่า แตกต่างจากองค์กรที่มีจานวนพนักงานมากกว่า 50 และ การบริหารคุณภาพด้านการจัดส่งพบว่าองค์กรที่มีเงินลงทุนจากประเทศญี่ปุ่น จะมีการบริหารการผลิตแบบญี่ปุ่นด้านมาตรฐานการปฏิบัติงาน5สการ ปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง PDCAHo-Ren-So และการขจัดความสูญเปล่า แตกต่างจากองค์กรที่ไม่ได้รับเงินลงทุนจากญี่ปุ่น และ 3) การบริหารคุณภาพ ด้านคุณภาพมีความสัมพันธ์กับด้านการขจัดความสูญเปล่า(r=0.704) ใน ระดับสูง ส่วนด้านมาตรฐานการปฏิบัติงาน(r=0.361) 5ส(r=0.386) การ ปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง(r=0.435) และHo-Ren-So(r=0.478) ในระดับปานกลาง และPDCA(r=0.293) ในระดับต่า และพบว่าการบริหารคุณภาพด้านต้นทุนมี ความสัม
ผู้แต่ง
ประเภทสิ่งพิมพ์
ปีที่พิมพ์
1
เลขหน้า
11 หน้า
หัวเรื่อง
หัวเรื่อง
เอกสารฉบับเต็ม