fieldid
เขตข้อมูล | ข้อมูล |
บทคัดย่อ |
ความคาดหวังและการรับรู้ของผู้บริหารชาวญี่ปุ่นต่อสมรรถนะของล่ามภาษาญี่ปุ่นในนิคมอุตสาหกรรม 304 จังหวัดปราจีนบุรี : การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) ความคาดหวังของผู้บริหารชาวญี่ปุ่นต่อสมรรถนะของล่ามภาษาญี่ปุ่นในนิคมอุตสาหกรรม304 จังหวัดปราจีนบุรี 2) การรับรู้ของผู้บริหารชาวญี่ปุ่นต่อสมรรถนะของล่ามภาษาญี่ปุ่นในนิคมอุตสาหกรรม304 จังหวัดปราจีนบุรี 3) เปรียบเทียบความคาดหวังและการรับรู้ของผู้บริหารชาวญี่ปุ่นต่อสมรรถนะของล่ามภาษาญี่ปุ่นในนิคมอุตสาหกรรม304 จังหวัดปราจีนบุรี เก็บแบบสอบถามจากผู้บริหารชาวญี่ปุ่นที่ทางานอยู่ในนิคมอุตสาหกรรม304 จังหวัดปราจีนบุรี จานวน 133 คน วิเคราะห์โดยใช้สถิติแบบแจกแจงความถี่ (Frequency) ร้อยละ (Percentage) ค่าเฉลี่ย (Mean) ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) สถิติการทดสอบค่าเฉลี่ยของกลุ่มตัวอย่าง 1 กลุ่ม (One Sample T-test) และการทดสอบแบบจับคู่ (Paired Sample T-tests)
ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศชาย มีอายุ 45 ปีขึ้นไป จบการศึกษาในระดับปริญญาตรี พานักอยู่ในประเทศไทยเป็นเวลา 2-3 ปี ส่วนใหญ่มีอายุงานตั้งแต่ 20 ปีขึ้นไป และทางานในระดับผู้จัดการแผนก / ผู้จัดการฝ่าย และใช้ภาษาอังกฤษในการสื่อสาร ผู้บริหารชาวญี่ปุ่นส่วนใหญ่ร่วมงานกับล่ามภาษาญี่ปุ่นไม่เกิน 1 ปี ส่วนมากของผู้ตอบแบบสอบถามเป็นหัวหน้างานของล่ามภาษาญี่ปุ่น และล่ามภาษาญี่ปุ่นส่วนใหญ่มีประสบการณ์ในการทางานเป็นล่ามภาษาญี่ปุ่นไม่เกิน 1 ปี และมีระดับความรู้ภาษาญี่ปุ่นอยู่ในระดับ N2
ผลการทดสอบ พบว่า ระดับความคาดหวังของผู้บริหารชาวญี่ปุ่นต่อสมรรถนะของล่ามภาษาญี่ปุ่นในนิคมอุตสาหกรรม304 จังหวัดปราจีนบุรี ในด้านภาพพจน์ที่รับรู้ตัวเอง เฉลี่ยอยู่ในระดับสูง อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 และระดับการรับรู้ของผู้บริหารชาวญี่ปุ่นต่อสมรรถนะของล่ามภาษาญี่ปุ่น ในด้านภาพพจน์ที่รับรู้ตัวเอง เฉลี่ยอยู่ในระด
|
ผู้แต่ง |
|
ประเภทสิ่งพิมพ์ |
|
เลขหน้า |
82 |
หัวเรื่อง |
|
หัวเรื่อง |
|
หัวเรื่อง |
|
หัวเรื่อง |
|
เอกสารฉบับเต็ม |
Center of Academic Resource
Institute of Technology 1771/1, E Building, Fl. 2,
Pattanakarn Rd, Suan Luang, Bangkok, 10250