fieldid E-Thesis & Research สถาบันเทคโนโลยีไทย-ญี่ปุ่น
สืบค้น:

เขตข้อมูล ข้อมูล
บทคัดย่อ
การเพิ่มผลสัมฤทธิ์การเรียนภาษาญี่ปุ่นให้กับผู้เรียน ด้วยเทคนิคการจัดการเรียนรู้แบบกลุ่มร่วมมือ STAD : กรณีศึกษา โรงเรียนมัธยมศึกษาแห่งหนึ่ง : การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) เพื่อศึกษาผลสัมฤทธิ์จากวิธีการสอนด้วยเทคนิคการจัดการเรียนรู้แบบกลุ่มร่วมมือ STAD ในรายวิชาภาษาญี่ปุ่นกับนักเรียนระดับมัธยมศึกษาปีที่ 4 2) เพื่อศึกษาระดับความพึงพอใจต่อการจัดการเรียนการสอนด้วยเทคนิคการจัดการเรียนรู้แบบกลุ่มร่วมมือ STAD ทาให้นักเรียน “เก่ง ดี มีความสุข” ในการเรียนวิชาภาษาญี่ปุ่น ของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาปีที่ 4 กลุ่มตัวอย่าง คือ นักเรียนระดับมัธยมศึกษาปีที่ 4 จานวน 37 คน วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน One-Way Analysis of Variance Paired sample test และการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพการสัมภาษณ์กลุ่ม (Focus Group Study) ผลการทดสอบสมมติฐานพบว่า 1) คะแนนแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนและหลังการจัดการเรียนรู้ วิชาภาษาญี่ปุ่น บทที่6 เรื่อง การซื้อของかいものของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ในภาครวมนักเรียนได้คะแนนเฉลี่ยจากแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน คะแนนเฉลี่ยก่อนเรียนเท่ากับ4.7 คะแนน หรือคิดเป็นร้อยละ 47.43 คะแนนเฉลี่ยหลังเรียนเท่ากับ 7.5 คะแนน หรือคิดเป็นร้อยละ 72.97 โดยก่อนเรียนมีคะแนน ระหว่าง 0 ถึง 9.5 คะแนน หรือระหว่างร้อยละ 0 ถึง ร้อยละ 95 หลังเรียนมีคะแนนระหว่าง 3 ถึง 10 คะแนน หรือระหว่าง ร้อยละ 30 ถึงร้อยละ 100 โดยคะแนนสอบก่อนเรียน หลังเรียน มีคะแนนผลต่างเฉลี่ยเท่ากับ 2.7 หรือ คิดเป็นร้อยละ 27.97 2) ผลการสัมภาษณ์กลุ่ม (Focus Group Study Interview) ผลจากการสัมภาษณ์พบว่านักเรียนทุกกลุ่มเห็นด้วยกับการเรียนภาษาญี่ปุ่นด้วยเทคนิคนี้เนื่องจากมีกิจกรรมร่วมกันระหว่างผู้เรียนและผู้สอน ก่อให้เกิดการเรียนรู้อย่างแท้จริง อย่างไรก็ตามการเรียนด้วยเทคนิค STAD ยังมีข้อจากัดบางประการในเรื่อ
ผู้แต่ง
ประเภทสิ่งพิมพ์
เลขหน้า
104
หัวเรื่อง
หัวเรื่อง
หัวเรื่อง
เอกสารฉบับเต็ม