fieldid
เขตข้อมูล | ข้อมูล |
บทคัดย่อ |
การสร้างมาตรฐานพื้นฐานร่วมสำหรับงานล่ามญี่ปุ่น-ไทย กรณีศึกษา บริษัท A : การศึกษาครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาหาปัญหาของการปฏิบัติงานล่าม
ภาษาญี่ปุ่น-ไทยในบริษัทญี่ปุ่น, แนวทางและวิธีการแก้ไข ปญั หาการปฏิบัติงานล่ามภาษา
ญี่ปุ่น-ไทยในบริษัทญี่ปุ่น และเพื่อศึกษาแนวทางในการสร้างมาตรฐานการปฏิบัติงาน ล่าม
ภาษาญี่ปุ่น-ไทย ในบริษัทญี่ปุ่นเพื่อให้ทั้งผู้ใช้งานล่าม และตัวล่ามเองเข้าใจถึงกระบวนการ
ทำงานไปในแนวทางเดียวกัน
โดยการศึกษาฉบับนี้ ใช้แนวทางการศึกษาเชิงวิเคราะห์ โดยนำหนึ่งในเครื่องมือของ
New QC 7 Tools คือ Tree Diagram เข้ามาช่วยในการค้นหาปญั หาและความสัมพันธ์ของ
ปญั หา จากการศึกษาในครัง้ นี้ ผู้ศึกษา พบว่า มีปรากฏการณ์หลายอย่างที่เป็นปญั หาและเป็น
อุปสรรคต่อการทำงานของล่ามญี่ปุ่น-ไทย ทว่าผู้ศึกษาได้ดึงประเด็นปรากฏการณ์ที่ต้องการ
ศึกษาเพมิ่ ออกมาให้เหลือเพียงเรื่อง “แปลแล้ว ไม่สามารถเข้าใจได้” นำมาศึกษาต่อยอดเพื่อหา
มาตรการแก้ไขปรับปรุงด้วยหลักการไคเซ็นต่อไป
ผลการศึกษาในครัง้ นี้ พบว่า “แปลแล้ว ไม่สามารถเข้าใจได้” ของล่ามญี่ปุ่น-ไทย มี
ปจั จัยหลักๆ อยู่ด้วยกัน 4 หัวข้อ โดยจำแนกเป็น
1. ปจั จัยที่เกิดจากตัวล่ามเอง
2. ปัจจัยที่เกิดจากผู้ใช้งานล่ามที่เป็นคนญี่ปุ่น
3. ปจั จัยที่เกิดจากผู้ใช้งานล่ามที่เป็นคนไทย
4. ปจั จัยที่เกิดจากสภาพแวดล้อม
จากแผนผังต้นไม้ ทำให้ทราบว่าปัจจัยดังกล่าวมีความสอดคล้องกัน จึงกำหนด
มาตรการแก้ไข และนำวิธีการไคเซ็นมาศึกษาปญั หามีส่วนหนึ่งที่สามารถดำเนินการแล้วเสร็จ
ภายในช่วงที่ทำการศึกษา โดยส่วนใหญ่จะเป็นการปรับปรุงที่ตัวล่ามเอง ซึ่งการศึกษาครั้งนี้
ได้นำเสนอวิธีการแก้ไขปญั หาด้วยวิธีการไคเซ็นทั้งหมด 8 เรื่อง ซึ่งเป็นเรื่องที่สามารถทำ
การปรับปรุงจนเสร็จสมบูรณ์ภายในระยะเวลาของการศึกษา และได้รับการประเมินจ
|
ผู้แต่ง |
|
ประเภทสิ่งพิมพ์ |
|
ปีที่พิมพ์ |
1 |
เลขหน้า |
68 |
หัวเรื่อง |
|
หัวเรื่อง |
|
เอกสารฉบับเต็ม |
Center of Academic Resource
Institute of Technology 1771/1, E Building, Fl. 2,
Pattanakarn Rd, Suan Luang, Bangkok, 10250