fieldid
เขตข้อมูล | ข้อมูล |
บทคัดย่อ |
ปัจจัยความสัมพันธ์ที่ส่งผลต่อความมุ่งมั่นในการรักษาระบบ ISO/TS 16949 กรณีศึกษา พนักงานบริษัทบางกอกสปริงอินดัสเตรียล จำกัด : การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาปัจจัยหน้าที่การจัดการ เช่น การวางแผน, การ
จัดการโครงสร้างองค์กร, การนำและการควบคุม 2) ศึกษาปัจจัยการบริหารทรัพยากรมนุษย์
เช่น การให้รางวัล, การลงโทษ, ความตระหนักและความจงรักภักดี3) ศึกษาการบริหารระบบ
ISO เช่น การให้ความรู้, การฝึกอบรม, การสื่อสาร และการทบทวนฝ่ายบริหาร 4) สรุปปัจจัย
เพื่อหาความสัมพันธ์ที่ส่งผลต่อความมุ่งมั่น
ประชากรที่ใช้ในการศึกษา คือ พนักงานบริษัทอุตสาหกรรมยานยนต์พื้นที่ บางนา-
ตราด กม.ที่15 และนิคมอมตะซิตี้จังหวัดระยอง โดยกำหนดกลุ่มตัวอย่างใช้สูตรคำนวณของทา
โร่ ยามาเน่ ประชากรที่สุ่มมี 3 บริษัท ขนาดตัวอย่างเท่ากับ 400 คน วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบ
สะดวก ใช้แบบสอบถามกระจายสุ่มตัวอย่าง สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์คือค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย
ความเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์ความถดถอยเชิงพหุ ผลการวิจัยพบว่า 1) ปัจจัยด้านหน้า
ที่การจัดการ มีความสัมพันธ์ที่ส่งผลต่อความมุ่งมั่นเชิงบวกสำคัญสุดเรียงลำดับการนำ, การจัดการ
โครงสร้าง, การวางแผนและการควบคุม 2) ปัจจัยการบริหารทรัพยากรมนุษย์มีความสัมพันธ์
ส่งผลต่อความมุ่งมั่นเชิงลบสำคัญสุดเรียงลำดับ ด้านความจงรักภักดี,ด้านความตระหนัก, ด้านการ
ลงโทษ, และด้านการให้รางวัล การใช้เครื่องมือ HR มาก ส่งผลต่อความมุ่งมั่นทำให้พนักงาน
ต่อต้าน 3) ปัจจัยการบริหารระบบ ISO มีความสัมพันธ์ส่งผลต่อความมุ่งมั่นเชิงบวกและมี
ความสัมพันธ์มากกว่าปัจจัยอื่น สำคัญที่สุดเรียงลำดับ ด้านการสื่อสารและด้านการทบทวนฝ่าย
บริหาร, ด้านการฝึกอบรม, ด้านการเรียนรู้ 4) สรุปปัจจัยเพื่อหาความสัมพันธ์ที่ส่งผลต่อความ
มุ่งมั่น สร้างแบบสมการความสัมพันธ์ดังนี้ (Commitment=1.740+.470 (ISO Mgnt.)+.360
(Mgnt.Funct.)-.210 (HR
|
ผู้แต่ง |
|
ประเภทสิ่งพิมพ์ |
|
ปีที่พิมพ์ |
1 |
เลขหน้า |
113 |
หัวเรื่อง |
|
หัวเรื่อง |
|
หัวเรื่อง |
|
หัวเรื่อง |
|
หัวเรื่อง |
|
เอกสารฉบับเต็ม |
Center of Academic Resource
Institute of Technology 1771/1, E Building, Fl. 2,
Pattanakarn Rd, Suan Luang, Bangkok, 10250