fieldid
เขตข้อมูล | ข้อมูล |
บทคัดย่อ |
การศึกษาวินิจฉัยด้านการจัดการผลิต เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพทางการผลิต และลดความสูญเสีย 7 ประการ กรณีศึกษาสายการผลิต LEVER TILE : สารนิพนธ์ฉบับนี้ ผู้ศึกษาได้กำหนดวัตถุประสงค์ในการศึกษาเพื่อประยุกต์ใช้ความรู้
การวินิจฉัยองค์กร (1) เพื่อสำรวจวิเคราะห์สภาพปัจจุบันของปัญหาด้านการจัดด้านการผลิต (2)
เพื่อวิเคราะห์ประสิทธิภาพและความสูญเปล่าของกระบวนการผลิต (3) เพื่อปรับปรุงประสิทธิภาพ
ของสายการผลิตให้สูงขึ้น (4) เพื่อลดความสูญเปล่าทั้ง 7 ประการ และต้นทุนในกระบวนการ
ผลิต โดยทำการศึกษากรณีตัวอย่างการจัดการผลิตของ บริษัท บุญส่งพรีซิชั่นซัพพลาย จำกัด
ในการผลิตชิ้นงาน Lever Tilt ซึ่งผู้ศึกษาได้ใช้หลักการวินิจฉัยองค์กรด้านการผลิต และทฤษฎี
การศึกษาการเคลื่อนไหวและเวลา รวมถึงการศึกษาวิเคราะห์และขจัดความสูญเสียทั้ง 7 ประการ
ในการวิเคราะห์ค้นหาปัญหาด้านการผลิต ซึ่งผลการศึกษาวินิจฉัยและวิเคราะห์ค้นหาปัญหา
พบว่า :
1. ในด้านการบริหารจัดการด้านการผลิตในส่วนงานด้านการวางแผนการผลิต, การ
ควบคุมการผลิต, การบริหารการใช้เครื่องจักรและการดูแลรักษา, การควบคุมคุณภาพที่ไม่มี
ประสิทธิภาพส่งผลกระทบต่อการส่งมอบชิ้นงานล่าช้าถึง 40.00%, มีอัตราชิ้นงานเสียถึง 9.67%
และมีชิ้นงานส่งคืนจากลูกค้าถึง 12.61% มีอัตราการเก็บวัสดุคงคลังรวมถึงชิ้นงานระหว่าง
กระบวนการผลิตและชิ้นงานสำเร็จสูงถึง 141.03% ในเดือนมกราคม และรวมถึงการมีโครงสร้าง
ต้นทุนที่สูงถึง 97.33% จากต้นทุนวัตถุดิบทางตรงและทางอ้อมถึง 73.32% ที่ส่งผลให้สามารถมี
อัตราส่วนการทำกำไรเพียง 2.67%
2. ในการควบคุมการผลิตที่ไม่มีประสิทธิภาพส่งผลให้มีประสิทธิภาพการผลิตอยู่ที่
50.10% หรือมีปริมาณผลการดำเนินการผลิตเฉลี่ยอยู่ที่ 2,231 ชิ้นต่อวัน โดยมีการทำงานที่ไม่
จำเป็นต่อกระบวนการผลิตอยู่ถึง 17 ขั้นตอนการทำงาน หรือ 3.34 วินาที และมีความสัมพันธ์
การทำงานระหว่างคนและเครื่องจักรที่
|
ผู้แต่ง |
|
ประเภทสิ่งพิมพ์ |
|
ปีที่พิมพ์ |
1 |
เลขหน้า |
111 |
หัวเรื่อง |
|
หัวเรื่อง |
|
หัวเรื่อง |
|
เอกสารฉบับเต็ม |
Center of Academic Resource
Institute of Technology 1771/1, E Building, Fl. 2,
Pattanakarn Rd, Suan Luang, Bangkok, 10250