fieldid
เขตข้อมูล | ข้อมูล |
บทคัดย่อ |
การควบคุมปริมาณสินค้าคงคลังโดยใช้โมเดล EOQ และเทคนิค Worksite Control กรณีศึกษา บริษัทจัดจำหน่ายสินค้าลวดทองแดงอาบน้ำยา : การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาแนวทางในการจัดเก็บ
ปริมาณสินค้าคงคลังให้เพียงพอกับการจำหน่ายโดยใช้โมเดล Economic
Order Quantity (EOQ) และประยุกต์ใช้ระบบการผลิตแบบโตโยต้า (Toyota
Production System : TPS) กับการควบคุมพื้นที่จัดเก็บสินค้าคงคลังด้วย
การมอง (visual control) ให้กับบริษัทกรณีศึกษาในธุรกิจขนาดเล็กและกลาง
(SMEs) ด้วยวิธีการเก็บข้อมูลจากการสัมภาษณ์และข้อมูลจากการทำงานใน
อดีตของสินค้าขายดี 6 ขนาด ตั้งแต่เริ่มมีการสั่งซื้อสินค้าจากต่างประเทศถึง
ปัจจุบันเป็นเวลา 10 เดือน ผลการศึกษาทำให้ทราบปริมาณสั่งซื้อ, จุดสั่งซื้อ
และ safety stock ที่จะทำให้บริษัทมีสินค้าเพียงพอต่อการจำหน่าย จากการ
เก็บข้อมูลการเคลื่อนไหวของสินค้าเป็นเวลา 3 เดือน (ตั้งแต่ 23 กรกฎาคม
ถึง 22 ตุลาคม) ที่ผ่านมา บริษัททำการสั่งซื้อสินค้าในปริมาณที่ต่ำกว่าความ
ต้องการของลูกค้าส่งผลให้บริษัทเสียโอกาสในการจำหน่ายสินค้าประมาณ
3,023.90 กิโลกรัม หรือคิดเป็นมูลค่าโดยประมาณ 1,058,365 บาท การเข้า
สำรวจและประเมินผลตามแบบ Worksite Control Check Sheet สามารถ
กำหนดพื้นที่จัดเก็บสินค้าและพื้นที่เตรียมจัดส่งสินค้าอย่างชัดเจน มีการทำ
ตารางจัดส่งสินค้าประจำวันแสดงสถานะการทำงานและสามารถติดตามงาน
หรือแก้ไขได้ทันที ลดข้อผิดพลาดในการสั่งซื้อสินค้าซ้ำอันเกิดจากการ
จัดเก็บไม่เป็นระเบียบ ลดข้อผิดพลาดจากการส่งสินค้าผิดอันเกิดจากการ
เตรียมสินค้าในพื้นที่เดียวกับการเก็บสินค้า ลดระยะเวลาในการส่งมอบสินค้า
ให้กับลูกค้าที่มารับสินค้าด้วยตนเอง ลดระยะเวลาจากการตอบข้อซักถาม
และขอเอกสารคุณภาพจากเดิม 1-2 วัน เป็นไม่เกิน 10 นาที ซึ่งบริษัท
สามารถใช้เป็นแนวทางกำหนดนโยบายควบคุมสินค้าคงคลังและขยายผลไป
ใช้กับสินค้าชนิ
|
ผู้แต่ง |
|
ประเภทสิ่งพิมพ์ |
|
ปีที่พิมพ์ |
1 |
เลขหน้า |
5 |
หัวเรื่อง |
|
หัวเรื่อง |
|
หัวเรื่อง |
|
หัวเรื่อง |
|
หัวเรื่อง |
|
หัวเรื่อง |
|
หัวเรื่อง |
|
เอกสารฉบับเต็ม |
Center of Academic Resource
Institute of Technology 1771/1, E Building, Fl. 2,
Pattanakarn Rd, Suan Luang, Bangkok, 10250