fieldjournalid
![]() | วิทยานิพนธ์ (MIM) 2012 |
1. | การศึกษาการบำรุงรักษาบนพื้นฐานความน่าเชื่อถือ (Reliability Centered Maintenance) กรณีศึกษา เครื่องล้างชิ้นส่วนในอุตสาหกรรมระบบปรับอากาศรถยนต์ [แสดงบทคัดย่อ] [ซ่อนบทคัดย่อ] | |
ผู้แต่ง : อัศวเทวินทร์ สิทธิเหรียญชัย | ||
งานวิจัยนี้ได้ศึกษาการบำรุงรักษาบนพื้นฐานของความน่าเชื่อถือ กรณีศึกษาเครื่อง
ล้างชิ้นส่วนในอุตสาหกรรมชิ้นส่วนระบบปรับอากาศรถยนต์ กระบวนการวิทยาประกอบด้วย
การตัดสินใจเชิงตรรกะประกอบกับพิจารณาจากปัจจัยข้อมูลที่มีอยู่ในอดีต เพื่อทำการตัดสิน
ชิ้นส่วนที่จะต้องถูกเฝ้าระวัง หรือทำการบำรุงรักษาก่อนที่จะเสียแล้วถึงแก้ไข โดยเปรียบเทียบ
กับงบประมาณที่เหมาะสม ทุกชิ้นส่วนมี่ผ่านกระบวนการจะถูกเปรียบเทียบกับเกณฑ์การ
ตัดสินใจ ได้แก่ งบประมาณ จำนวนพนักงาน เวลาที่ใช้ในการกู้กลับสู่สภาวะเดิม โดยความ
เสียหายที่เกิดขึ้น ทั้งในระดับหน้าที่ของชิ้นส่วนเอง ไปสู่ระบบและสินทรัพย์ จุดมุ่งหมายหลัก
ของกระบวนการเพื่อแยกแยะ แต่ละชิ้นส่วนจะถูกตัดสินให้เป็นชิ้นส่วนประเภทวิกฤติ หรือซ่อน
เร้น หรือไม่มีความสำคัญต่อระบบ เพื่อสามารถเข้าใจถึงผลกระทบที่ตามมาจากความเสียหาย
ซึ่งนำไปสู่การระบุชิ้นส่วนที่ถูกมองข้ามความสำคัญไป
ดังนั้น เมื่อสามารถประเมินผ่านกระบวนการนี้ จะได้ผลลัพธ์อย่างเป็นรูปธรรมว่า
เครื่องจักรหยุดจากการเสียหายลดลงอย่างได้ผล แผนการบำรุงรักษาที่เหมาะสมและวิธีการ
ตรวจสอบจึงถูกจัดทำขึ้นมา แผนการบำรุงรักษาเดิมได้ถูกจัดทำขึ้นใหม่ตามความเหมาะสมทาง
ทรัพยากรและตามระดับความสำคัญ กระบวนการนี้ทำให้ผู้ใช้มีความเข้าใจในระบบมากขึ้น แต่
ถ้าขาดประสบการณ์จะต้องใช้เวลาในการทำความเข้าใจ ซึ่งมีความสำคัญในการศึกษาอุปกรณ์
เครื่องจักรและระบบ ผลลัพธ์ที่สามารถประเมินผ่านกระบวนการนี้จะเห็นได้อย่างชัดเจนว่าเรื่อง
ของการที่เครื่องหยุดจากการเสียหายลดลง เมื่อเปรียบเทียบกับการวางแผนการบำรุงรักษา
แบบเดิม
การบำรุงรักษาบนพื้นฐานความน่าเชื่อถือจะพิจารณาอย่างเหมาะสมและดำเนินการ
วางแผนปรับปรุงเครื่องจักร เพื่อการป้องกันแ
Full Text : Download! |
||
2. | The Design and Implementation of Weak Signal Detection Methods using Duffing Chaotic Oscillator [แสดงบทคัดย่อ] [ซ่อนบทคัดย่อ] | |
ผู้แต่ง : Chiramathe Nami | ||
This thesis presents weak signal detection methods using Duffing chaotic oscillator. The dynamic characteristics and properties of Duffing chaotic oscillator under the detection mode are mathematically analyzed, including an existence of attractor, equilibrium points, Jacobian matrices, bifurcations, chaotic waveforms, and frequency-domain spectrums. As the precision of the system depend on the parameter threshold value still unsolved and a small variation of parameter value may cause a dramatically change in the chaotic system behavior, this thesis has contributed two major significant research outcomes, including parameter optimization and hardware implementation of the Duffing chaotic oscillator. The proposed parameter optimizations aim to achieve the parameter robustness for circuit operation under weak signal detection mode through the comparisons of Kaplan-Yorke conjecture that quantitatively measures the system complexity. The optimized parameters of Duffing equation has been found and employed for the circuit implementation. The circuit implementation of Duffing chaotic oscillator has also been proposed with minimal components with band-pass filtered output and current measurement circuit. The circuit could potentially measure weak signals under noisy conditions through the phase-plane observation in the changes of chaotic attractor. The proposed weak signal detection method can be used as an alternative to cost-effective weak signal detection systems in a variety of
Full Text : Download! |
||
3. | การประยุกต์ระบบ Milk Run เพื่อการจัดเส้นทางการขนส่งในอุตสาหกรรมชิ้นส่วนยานยนต์กรณีศึกษา โรงงานผลิตชุดสายไฟรถยนต์ [แสดงบทคัดย่อ] [ซ่อนบทคัดย่อ] | |
ผู้แต่ง : นพรัตน์ อยู่เย็น | ||
การขนส่งสินค้างทางถนน เป็นวิธีการขนส่งในระบบโลจิสติกส์ที่มีการใช้มากที่สุดและมีผลกระทบกับชีวิตประจำวันของผู้ใช้ถนนที่ต้องใช้ถนนในการสัญร
สารนิพนธ์ฉบับนี้ได้นำเสนอการนำหลักการ Milk Run โดยเฉพาะทฤษฎี Saving Matrix และทฤษฏี Traveling Salesman Problem (TSP) โดยใช้วิธี Vehicle Routing Problem มาประยุกต์ใช้กับการจัดเส้นทางการขนส่ง โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้ผู้ปฏิบัติงานสามารถจัดเส้นทางรถขนส่งแบบรวมเส้นทาง เพื่อลดค่าใช้จ่ายในการขนส่งและประมาณรถขนส่งในการทำงาน ผลที่ได้ คือ ค่าขนส่งลดลงจากเดิมเฉลี่ย 60% จากวิธีการแบบที่ 1 ลูกค้า 1 คัน และปริมาณรถขนส่งที่เข้ามาปฏิบัติงานจากเดิม 15 คันต่อวัน เหลือรถ 6 ล้อ 7.2 เมตรเพียง 2 คัน ต่อวัน ส่งผลให้ลดปริมาณความหนาแน่นของการจราจรภายในคลังสินค้าลง
Full Text : Download! |
||
Center of Academic Resource
Institute of Technology 1771/1, E Building, Fl. 2,
Pattanakarn Rd, Suan Luang, Bangkok, 10250