fieldjournalid
![]() | สารนิพนธ์ (EEM) 2013 |
1. | การวิเคราะห์จุดศูนย์กลางแรงโน้มถ่วงเพื่อเลือกทำเลที่ตั้งคลังสินค้า [แสดงบทคัดย่อ] [ซ่อนบทคัดย่อ] | |
ผู้แต่ง : ธันยาวัฒน์ ปานขลิบ | ||
สารนิพนธ์เรื่องนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเลือกทำเลที่ตั้งของคลังสินค้าแห่งใหม่ที่มีความ
เหมาะสมในด้านต้นทุนในเชิงเปรียบเทียบ ผู้ศึกษาใช้บริษัท ไทยแอโรว์ จำกัด ซึ่งมีโรงงานผลิต
ของตนเอง 4 แห่ง และคลังสินค้าที่กม. 36 เป็นหน่วยวิเคราะห์ และเลือกผู้ผลิตรถยนต์
รายหนึ่งในจังหวัดพระนครศรีอยุธยาที่เป็นลูกค้าหลักของบริษัทเป็นกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง
เพื่อศึกษาขั้นตอนและค่าใช้จ่ายเชิงเปรียบเทียบในการขนส่งวัตถุดิบและสินค้าสำเร็จรูประหว่าง
โรงงานผลิต คลังสินค้า และโรงงานลูกค้า ดำเนินการเก็บข้อมูลระหว่างเดือนพฤศจิกายน พ.ศ.
2555 ถึงเดือนมกราคม พ.ศ. 2556 โดยแบ่งการศึกษาเป็น 2 ส่วน ได้แก่ การคำนวณทำเลที่ตั้ง
ของคลังสินค้าจุดเดียวด้วยวิธีการวิเคราะห์จุดศูนย์กลางแรงโน้มถ่วง (Center of Gravity
Method : COG) และการเปรียบเทียบต้นทุนระหว่างคลังสินค้าเดิมและคลังสินค้าใหม่
ผลการศึกษา พบว่า ปริมาตรสินค้าทั้งหมดที่ขนส่งรวมต้นทุนค่าขนส่งต่อชิ้นซึ่งคิดใน
รูปค่าชั่วโมงงานเฉลี่ยต่อเดือนมีค่าเท่ากับ 354.775 พันชั่วโมงงาน (Kilo Man-Hour : KMH)
เมื่อนำสถานที่ตั้งของจุดที่ไหลเข้า-ออกคลังสินค้าแต่ละจุดมา Plot พิกัดแกน X และ แกน Y
ด้วยโปรแกรม Google Earth เพื่อคำนวณระยะทางในการขนส่งและวิเคราะห์หาจุดศูนย์กลาง
แรงโน้มถ่วง พบว่า ตำแหน่งสำหรับตั้งคลังสินค้าในแนวแกน X และ Y คือ (100.6896,
14.21757) เมื่อแปลงพิกัดเข้าในแผนที่จริง พบว่า จุดดังกล่าวอยู่บริเวณรอบนอกของสวน
อุตสาหกรรมโรจนะ ในเขตอำเภอวังน้อย จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ซึ่งมีโรงงานที่เป็นผู้รับช่วง
ผลิตแทนให้กับบริษัทและมีคลังสินค้าพร้อมให้เช่าตั้งอยู่ในโรงงานด้วย และอยู่ห่างจากโรงงาน
ลูกค้าที่เป็นกลุ่มตัวอย่างที$ศึกษาประมาณ 19 กิโลเมตร ในการเปรียบเท
Full Text : Download! |
||
2. | การจัดการคุณภาพของกระแสไฟฟ้าจากระบบจ่ายไฟฟ้าสำรองต่อเนื่อง (ยูพีเอส) ด้วยการบำรุงรักษาทวีผลแบบทุกคนมีส่วนร่วม กรณีศึกษา บริษัท อสมท จำกัด (มหาชน) [แสดงบทคัดย่อ] [ซ่อนบทคัดย่อ] | |
ผู้แต่ง : พลภัทร ลีพรหมมา | ||
สารนิพนธ์เรื่องนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระบบการจ่ายไฟฟ้าของ บริษัท อสมท จำกัด (มหาชน) ศึกษามาตรฐานของคุณภาพกระแสไฟฟ้าที่จ่ายจากระบบไฟฟ้าสำรองต่อเนื่องศึกษาการจัดการคุณภาพของกระแสไฟฟ้าจากเครื่องจ่ายไฟฟ้าสำรองต่อเนื่อง โดยใช้การบำรุงรักษาทวีผลแบบทุกคนมีส่วนร่วม และเพื่อจัดทำแผนการซ่อมบำรุงเชิงป้องกันให้กับระบบไฟฟ้าสำรองต่อเนื่อง ผู้ศึกษาเลือกตัวอย่างที่ใช้ศึกษาแบบเฉพาะเจาะจง โดยศึกษาระบบจ่ายไฟฟ้าสำรองต่อเนื่อง ยี่ห้อ MGE รุ่น Galaxy ขนาด 120 เควีเอ และดำเนินการเก็บรวบรวมข้อมูลจากคู่มือแจกแจงคุณลักษณะเฉพาะของระบบ คู่มือมาตรฐานการบำรุงรักษา รายงานจากเครื่องวัดบันทึกคุณภาพกำลังไฟฟ้า และเครื่องวัดลักษณะทางกายภาพซึ่งเป็นข้อมูลจากการปฏิบัติงานจริง จากนั้นนำมาวิเคราะห์และสอบทานกับหลักทฤษฎีของการตรวจสอบและบำรุงรักษาระบบไฟฟ้าสำรองต่อเนื่อง ผู้ศึกษาได้นำเครื่องมือและเทคนิคการบำรุงรักษาทวีผลแบบทุกคนมีส่วนร่วมมาใช้จัดทำแนวทางการแก้ไขปัญหาและแผนการซ่อมบำรุงเชิงป้องกันให้กับระบบไฟฟ้าสำรองต่อเนื่อง ผลลัพธ์ที่ได้จากการศึกษา คือ คู่มือปฏิบัติการมาตรฐานในการซ่อมบำรุงเชิงป้องกันของระบบจ่ายไฟฟ้าสำรองต่อเนื่อง ยี่ห้อ MGE รุ่น Galaxy ขนาด 120 เควีเอ ซึ่งทำให้ บริษัท อสมท จำกัด (มหาชน) สามารถยืดหยุ่นอายุการใช้งานระบบได้ และช่วยให้มีระยะเวลาการวางแผนลงทุนในระบบจ่ายไฟฟ้าสำรองซึ่งมีมูลค่ามหาศาลได้
Full Text : Download! |
||
3. | การศึกษาความเป็นไปได้ของการทำธุรกิจบริษัทนำเที่ยวประเทศญี่ปุ่น [แสดงบทคัดย่อ] [ซ่อนบทคัดย่อ] | |
ผู้แต่ง : พิจิตรา อังคสกุลเกียรติ | ||
ในการศึกษา ผู้ทำการศึกษาได้เลือกศึกษาความเป็นไปได้ของการทำธุรกิจบริษัท
นำเทียวประเทศญี่ปุ่น มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความเป็นไปได้ของธุรกิจบริษัทนำเทียวประเทศ
ญี่ปุ่น และเพื่อวิเคราะห์ปัจจัยเสียงที่ส่งผลกระทบต่อการดำเนินธุรกิจ และเลือกรูปแบบธุรกิจที่
เหมาะสม มีความน่าเชือถือ โดยทำการศึกษา 4 ด้าน คือ ด้านการตลาด ด้านวิศวกรรม ด้าน
การบริหารจัดการ และด้านการเงิน ผู้ทำการศึกษาได้ทำการศึกษาและรวบรวมข้อมูลเกียวกับ
การศึกษาความเป็นไปได้และการเขียนแผนธุรกิจ ข้อมูลเกียวกับธุรกิจบริการนำเทียว และ
วิเคราะห์ข้อมูล หาจุดอ่อน จุดแข็ง โอกาส และอุปสรรค ด้วยวิธี SWOT Analysis และค้นหา
ปัจจัยทีทำให้ประสบความสำเร็จ (Key Success Factors) ประเมินความเป็นไปได้ทางการเงิน
(Financial Feasibility Study) และการวิเคราะห์การเปลียนแปลง
โดยศึกษารูปแบบธุรกิจบริษัทนำเที่ยว 2 รูปแบบ คือ 1. รูปแบบบริษัทนำเที่ยวแบบ
มาตรฐาน ซึ่งให้บริการรับจองตัว P เครืองบิน ที่พัก และบริการจัดกรุ๊ปนำเที่ยว 2. รูปแบบบริษัท
นำเที่ยวแบบมาตรฐานครบวงจร ซึ่งให้บริการรับจองตัว P เครืองบิน ที่พัก บริการจัดกรุ๊ปนำเที่ยว
บริการรับทำวีซ่า ให้คำปรึกษา และให้บริการนำ เที่ยวตามความต้องการของลูกค้า
จากการศึกษาพบว่า ธุรกิจรูปแบบบริษัทนำเที่ยวแบบมาตรฐานครบวงจร เป็นรูปแบบธุรกิจที่
น่าลงทุนมากที่สุด เนื่องจากมีอัตราผลตอบแทนถัวเฉลี่ย (Average Rate of Return : ARR)
เท่ากับ 251.85% มีระยะเวลาคืนทุน (Payback Period : PB) ที 1 ปี 1 เดือน 6 วัน มูลค่า
ปัจจุบันสุทธิ (Net Present Value : NPV) เท่ากับ 6,432,665.08 บาท มีดัชนีการทำกำไร
(Profitability Index : PI) เท่ากับ 7.43 เท่า และมีอัตราผลตอบแทนจากการลงทุน (Internal
Rate of Return : IR
Full Text : Download! |
||
4. | การศึกษาความเป็นไปได้ธุรกิจการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ประเภทสินค้าเสื้อผ้าแบรนด์เนม [แสดงบทคัดย่อ] [ซ่อนบทคัดย่อ] | |
ผู้แต่ง : อาจารี สินวรพันธุ์ | ||
การศึกษาครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อหารูปแบบธุรกิจที่เหมาะสมกับการพาณิชย์
อิเล็กทรอนิกส์ประเภทสินค้าเสื้อผ้าแบรนด์เนม โดยประเมินความเป็นไปได้ของโครงการจาก
การศึกษา 4 ด้าน ได้แก่ ด้านการตลาด ด้านวิศวกรรม ด้านบริหาร และด้านการเงิน จากนั้นจึง
เลือกรูปแบบธุรกิจ โดยใช้ผลการวิเคราะห์ทางการเงิน และวิเคราะห์ปจั จัยเสี่ยงรวมถึงกำหนด
แผนฉุกเฉินสำหรับปจั จัยเสี่ยงนั้น
ข้อมูลที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ นำมาจากการค้นคว้าข้อมูลเอกสารที่มีอยู่จากแหล่ง
ต่างๆ ประกอบด้วย เอกสารราชการ หนังสือวิชาการ และสื่อออนไลน์
รูปแบบธุรกิจที่ทำการศึกษามี 2 รูปแบบ คือ รูปแบบการจำหน่ายสินค้าผ่านทาง
เว็บไซต์ และรูปแบบการจำหน่ายสินค้าผ่านทางเว็บไซต์ และมีร้านค้าด้วย เมื่อพิจารณาจาก
อัตราผลตอบแทนภายในและมูลค่าปัจจุบันสุทธิ พบว่า ธุรกิจรูปแบบจำหน่ายสินค้าผ่านทาง
เว็บไซต์ และมีร้านค้าด้วยให้ผลตอบแทนที่ดีกว่า โดยค่า NPV เท่ากับ 10,159,859 บาท ค่า
IRR เท่ากับ 125.15% และ Payback Period เท่ากับ 1.22 ปี วิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงเมื่อ
ยอดขายลดลง 20% พบว่า ผลตอบแทนยังคงมากกว่าอัตราดอกเบี้ยเงินกู้ที่ 9% และ
ผลตอบแทนที่คาดหวังที่ 12% แต่อย่างไรก็ตาม หากดำเนินกิจการจริงก็ควรติดตามยอดขาย
และผู้แข่งขันรายใหม่ด้วย และรักษายอดขายให้เป็นไปตามประมาณการโดยการเพิ่มการทำ
การตลาดผ่าน Google Ads SEO และ Facebook Ads เนื่องจากเป็นวิธีที่สามารถเพมิ่ จำนวน
ผู้เข้าชมเว็บไซต์ (UIP) ได้
หลังการศึกษาประเมินความเป็นไปได้ครัง้ นี้แล้ว ควรทำการศึกษาเพมิ่ เติมเรื่องการ
ออกแบบเว็บไซต์ ค่าใช้จ่ายและผลลัพธ์ที่ได้จากสื่อต่างๆ ที่ใช้ในการทำการตลาดผ่าน
อินเทอร์เน็ต และการศึกษาครัง้ นี้เป็นเพียงการนำข้อมูลที่มีอยู่ นำมาวิเคราะห์ความเป็นไ
Full Text : Download! |
||
5. | การกำหนดกลยุทธ์ในธุรกิจวิศวกรรมย้อนรอย : กรณีศึกษา บริษัท ทรีดี อินโนจิเนียริ่ง จำกัด [แสดงบทคัดย่อ] [ซ่อนบทคัดย่อ] | |
ผู้แต่ง : ชัยสิทธิ มีสวัสดิ | ||
การศึกษาการกำหนดกลยุทธ์ธุรกิจในโครงการนี- มีวัตถุประสงค์เพื$อทำการหารูปแบบ
ของกลยุทธ์ธุรกิจที$เหมาะสมในการบริหารงาน โดยการวิเคราะห์สภาพแวดล้อมทางธุรกิจทัง-
ปัจจัยภายใน และภายนอก วิเคราะห์ปัจ จัยเชิงกลยุทธ์ของธุรกิจ วิเคราะห์เพื$อกำหนดกลยุทธ์
ธุรกิจในการพัฒนาศักยภาพในการแข่งขัน ของงานให้บริการในด้านวิศวกรรมย้อนรอยของ
บริษัท ทรีดี อินโนจิเนียรง$ิ จำกัด
กลุ่มเป้าหมายหลัก คือ ผู้ประกอบการอุตสาหกรรมการผลิตชิ-นส่วนยานยนต์ แบ่ง
ตามกลุ่มฝ่ายการผลิต ไม่ว่าจะเป็นในด้านการออกแบบผลิตภัณฑ์ หรือการวิเคราะห์ในด้าน
วิศวกรรม การจัดการในด้านฐานข้อมูล การตรวจสอบในเชิงคุณภาพ ที$ได้รับผลกระทบจาก
กระบวนการออกแบบ และสร้างผลิตภัณฑ์ ที$ไม่มีข้อมูลเพียงพอต่อการวิเคราะห์ ชิ-นงาน
ต้นแบบที$ไม่มีข้อมูล ขนาดรูปร่าง มิติไม่เพียงพอ หรือไม่สามารถขึน- แบบจำลองด้วยโปรแกรม
คอมพิวเตอร์ทัว$ ไปได้
จากผลการศึกษากลยุทธ์ธุรกิจด้านการได้เปรียบเชิงการแข่งขัน คู่แข่งมีความยากใน
การเข้าสู่อุตสาหกรรม เนื$องจากเป็นธุรกิจที$ต้องใช้บุคลากรที$มีความรู้ ความเชี$ยวชาญเฉพาะ
ทางสูง และต้องมีประสบการณ์ทางด้านวิศวกรรมย้อนรอย ในรูปแบบของโปรแกรมออกแบบ
ดีไซน์ในอุตสาหกรรมมาก่อน ร่วมทั-งทีมงานยังมีความรู้ความเข้าถึงกระบวนการจัดสร้าง
ผลิตภัณฑ์ กระบวนการขึ-นรูป ทัง- งานโมลด์ฉีดพลาสติก งานขึน- รูปโลหะ อีกทัง- งานทางด้าน
อุปกรณ์จัดยึดชิ-นงาน ทำให้มีผู้สนใจเข้าสู่ตลาดเป็นจำนวนน้อย เกิดคู่แข่งขันใหม่น้อยราย
ทำให้ภัยคุกคามจากผู้แข่งขันหน้าใหม่อยู่ในระดับตํ$า เน้นในการเพม$ิ ส่วนแบ่งทางการตลาด
30% ในปีแรก และการตระหนักของแบรนด์เพื$อยกระดับการให้บริการ และสร้างความพึงพอใจ
ของลูกค้าบริการหลังการขายให้เพ$ิมมากขึ-น เป็นการสร้างความ
Full Text : Download! |
||
6. | วิเคราะห์ความเป็นไปได้โครงการศูนย์การค้าพระราม2 จังหวัดสมุทรสาคร [แสดงบทคัดย่อ] [ซ่อนบทคัดย่อ] | |
ผู้แต่ง : ชมภู เจริญสุข | ||
การศึกษาครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์ความเป็นไปได้ของธุรกิจ เพื่อหารูปแบบ
ธุรกิจศูนย์การค้า (Business Model) ปัจจัยแห่งความสาเร็จ (Key Success Factors)พร้อมทั้ง
วิเคราะห์ปัจจัยเสี่ยงที่คาดว่าจะเกิดขึ้นของโครงการศูนย์การค้าพระราม2 จังหวัดสมุทรสาคร
ซึ่งถือว่าเป็นทาเลทองของเมืองมหาชัย แวดล้อมไปด้วยหมู่บ้าน ตลาด ย่านธุรกิจการค้า และ
โรงงานอุตสาหกรรมภายใน 10 กิโลเมตร มีประชากรประมาณ 1.5 ล้านคน และประชากรแฝง
อีกประมาณ 3 แสนคน
การประเมินผลความเป็นไปได้ของโครงการภายในระยะเวลา 10 ปี โดยใช้เงินลงทุน
291 ล้านบาท ศึกษาด้านการตลาด ด้านวิศวกรรม ด้านการบริหารจัดการ และด้านการเงิน การ
พยากรณ์ยอดขาย และประมาณการงบลงทุนในโครงการ ได้จากสมมุติฐานทางตัวเลขที่มีความ
เป็นไปได้ในธุรกิจศูนย์การค้า จากนั้นจึงวิเคราะห์ทางการเงิน และผลตอบแทนของโครงการ
โดยใช้เกณฑ์การวัดความคุ้มค่าของโครงการเพื่อตัดสินใจการลงทุนในโครงการศูนย์การค้า
Key Success Factors (KSF) ที่สาคัญสาหรับโครงการนี้คือต้องเลือกกลุ่มลูกค้า
ผู้บริโภคให้ถูกต้องและไม่ทาธุรกิจใด ๆ ที่แข่งขันกับร้านค้าต่าง ๆ ของโครงการนี้ในบริเวณ
ใกล้เคียง และควบคุมค่าก่อสร้างให้อยู่ในเป้าหมาย ซี่งถือว่าเป็นปัจจัยเสี่ยงที่สาค้ญ
ได้ศึกษา และวิเคราะห์ความเป็นไปได้ของโครงการ โดยใช้เกณฑ์การวัดความคุ้มค่า
เป็นเกณฑ์การตัดสินใจ โดยได้ศึกษาหลาย ๆ กรณี Scenario Analysis ทั้งในภาวะปกติ
แย่กว่าปกติ และดีกว่าปกติตามลาดับ นอกจากนี้ยังได้ทาการศึกษาวิเคราะห์ความอ่อนไหว
(Sensitivity Analysis) ทางการเงิน โดยให้ค่าก่อสร้างเพิ่มขึ้น 30% และกรณีให้เช่าพื้นที่ได้เต็ม
100% ก่อนเปิดโครงการตามลาดับ
ผลการศึกษาวิเคราะห์ข้างต้นปรากฏว่าในกรณีปกตินั้นจะมี PB เท่าก
Full Text : Download! |
||
7. | การประยุกต์ใช้ IE เทคนิค ในโรงงานผลิตสปริงบูซเตอร์ [แสดงบทคัดย่อ] [ซ่อนบทคัดย่อ] | |
ผู้แต่ง : เดชศักดิด! า ประสมศรี | ||
จากอุปสงค์ที'เพ'ิมสูงขึ4นของอุตสาหกรรมยานยนต์และชิ4นส่วนที'มีความสำคัญต่อ
ประเทศเป็นอย่างยง'ิ ทัง4 การว่าจ้างแรงงานและการพัฒนาเทคโนโลยีของประเทศ ทำให้ยอด
การสัง' ซือ4 ของบริษัทผู้ผลิตรถยนต์และชิ4นส่วนสูงขึน4 ส่งผลกระทบให้กำลังการผลิตในปรกติไม่
เพียงพอและส่งมอบงานล่าช้า บริษัทผู้ผลิตยานยนต์และชิ4นส่วนต้องเพ'ิมกำลังการผลิตให้
สอดคล้องกับยอดการสั ' งซื4อ เพื'อแก้ไขปัญหาการส่งงานล่าช้า การแก้ไขทีท' ำได้ทันที คือ การ
เพม'ิ ทรัพยากรด้านกำลังคน เช่นเดียวกับไลน์บูซเตอร์ทีต' ้องเพม'ิ คนในกะกลางคืนแต่ขาดการจัด
สมดุลการผลิต
การประยุกต์ใช้ IE เทคนิค ครัง4 ที' 1 คือ การจัดสมดุลการผลิต การปรับปรุงโดยใช้
หลักการ ECRS สามารถลดความสูญเปล่าจากการรอคอยน้อยลงประสิทธิภาพการจัดสมดุล
ผลิตเพม'ิ ขึ4นจากก่อนการปรับปรุงร้อยละ 61 เป็นร้อยละ 74 กำลังการผลิตเพม'ิ ขึน4 ร้อยละ 33
ผลิตภาพแรงงานเพม'ิ ขึน4 ร้อยละ 33 แต่ยังไม่บรรลุวัตถุประสงค์ด้านต้นทุนค่าแรงที'เพม'ิ ขึน4 จึง
ต้องปรับปรุงครัง4 ที ' 2
การปรับปรุงครัง4 ที ' 2 พิจารณาการเพม'ิ ทรัพยากรด้านเครื'องจักรเนื'องจากไม่สามารถ
เพม'ิ ทรัพยากรด้านกำลังคนได้ โดยมีการพิจารณาการเพม'ิ เครื'องจักรจากการวิเคราะห์ตาราง
ภาระงาน การใช้เอกสาร A3 Document เพื'อขออนุมัติ หลังจากทีเ' พม'ิ เครื'องและจัดสมดุลการ
ผลิตใหม่ทำให้มีความสมดุลในการผลิตมากขึ4น สามารถเพ'ิมกำลังการผลิตได้ร้อยละ 84
ประสิทธิภาพการจัดสมดุลผลิตเพม'ิ ขึน4 จากร้อยละ 61 เป็นร้อยละ 89 ผลิตภาพแรงงานเพม'ิ ขึน4
ร้อยละ 38 สามารถลดพนักงานได้ 2 คน จากการลดกะการทำงานในกลางคืนลดต้นทุนได้
467,568 บาทต่อปี เมื'อคำนวณจุดคุ้มทุนจากต้นทุนการสัง' ซือ4 เครื'องจักรและอุปกรณ์ คือ 5.2
เดือน ถือว่าคุ้มค่าในก
Full Text : Download! |
||
8. | การประเมินศักยภาพการจัดการด้านการผลิต 8 ด้าน สา หรับผผู้ ลิตชิ้นส่วนยานยนต์ระดับ 1st tier ของผผู้ ลิตรถยนต์ [แสดงบทคัดย่อ] [ซ่อนบทคัดย่อ] | |
ผู้แต่ง : จิรัฐ กำพลกิจรัตน์ | ||
การศึกษาในครัง้ นี้มวี ัตถุประสงค์เพื่อศึกษาศักยภาพด้านการผลิตของบริษัทที่เป็น 1st
tier และสร้างแผนภูมิประสิทธิภาพการจัดการด้านการผลิต โดยผู้ศึกษาทาการเก็บรวบรวม
ข้อมูลจากผผู้ ลิตที่เป็น 1st tier ที่มีการส่งมอบชิ้นส่วนให้กับผผู้ ลิตรถยนต์ที่มียอดขายเป็นอับดับ
หนึ่งในประเทศไทยจา นวนทัง้ สิ้น 10 บริษัท โดยใช้แบบประเมินการผลิต 8 ด้านของการวินิจฉัย
องค์กรเป็นแบบฟอร์มในการเก็บรวบรวมข้อมูลที่สถานที่ปฏิบัติงานจริง และทาการวิเคราะห์
ข้อมูลโดยใช้โปรแกรม Microsoft Excel และใช้ค่าเฉลี่ย (Mean) เป็นสถิติที่ใช้สาหรับวิเคราะห์
ข้อมูล
จากการศึกษาพบว่า บริษัทที่เป็น 1st tier มีจุดเด่นในด้านของการปรับปรุงการทางาน
และการบา รุงรักษา คือ บริษัทมีการส่งเสริมให้มีการปรับปรุงการทางานเพื่อเพมิ่ ประสิทธิภาพ
ด้านการผลิต โดยเรมิ่ ตัง้ แต่การวางแผน ดา เนินกิจกรรมตามแผน และประเมินเปรียบเทียบผลที่
เกิดขึ้นจริงกับแผนที่วางไว้ ส่วนด้านการบา รุงรักษา มีการวางแผนซ่อมบา รุงเครื่องจักรก่อนที่จะ
เสีย และมีการบารุงรักษาโดยกลุ่มผู้ปฏิบัติงานเอง ไม่ใช่เฉพาะแต่ฝ่ายบารุงรักษา และมีการ
ประเมินผลกิจกรรมโดยเปรียบเทียบผลการดาเนินงานกับแผนด้วย ส่วนจุดปรับปรุงที่พบกับ
บริษัทที่เป็น 1st tier คือ ด้านการควบคุมต้นทุน โดยบริษัทที่เป็น 1st tier มีการควบคุมด้าน
ต้นทุนโดยมีการวางแผนต้นทุนและกา ไร และมีการประเมินผลตามระยะเวลาที่กา หนด รวมทัง้ มี
กิจกรรมส่งเสริมในการลดต้นทุน ซึ่งผลของกิจกรรมอยู่ในระดับที่สามารถลดต้นทุนได้ แต่ยังคง
ต้องใช้การกระตุ้นพนักงานให้เกิดผลดังกล่าว และเมื่อนาผลการประเมินที่ได้มาจัดทาเป็น
แผนภูมิประสิทธิภาพการจัดการด้านการผลิต ผลปรากฏว่าคะแนนประเมินในแต่ละด้านทัง้ 8
ด้านอยู่ในระดับ 4.00 – 4.
Full Text : Download! |
||
9. | กลยุทธ์การจัดจำหน่ายเครื่องมือแพทย์ กรณีศึกษา บริษัท รีโซลิค จำกัด [แสดงบทคัดย่อ] [ซ่อนบทคัดย่อ] | |
ผู้แต่ง : กีรวุฒิ ว่องสินไพบูลย์ | ||
การศึกษาฉบับนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาค้นคว้า 1) เพื่อทราบถึงกลยุทธ์การตลาด
ของผู้ประกอบการเจ้าของธุรกิจนำเข้าและจัดจำหน่ายเครื่องมือแพทย์ 2) เพื่อศึกษาการ
ตัดสินใจซื้อเครื่องมือแพทย์ของโรงพยาบาลในเขตกรุงเทพฯและปริมณฑล โดยประเมินผลผ่าน
การศึกษาปัจจัยทางด้านการตลาด ผ่านแบบสอบถามจากผู้ประกอบการและหัวหน้าพยาบาล
แผนกผู้ป่วยนอก ผู้ป่วยใน และห้องผ่าตัด โดยใช้เกณฑ์การวัดผลทางสถิติ
สรุปผลการวิจัย ส่วนที่ 1 ผู้ประกอบการ ใช้กลยุทธ์ทางการตลาดให้ความสำคัญกับ
ปัจจัยด้านผลิตภัณฑ์ มากที่สุด ได้แก่ คุณภาพเครื่องมือแพทย์มีเทคโนโลยีใหม่ๆ ยี่ห้อสินค้า
มาตรฐานการผลิต ความสะดวกในการใช้งาน และรับประกันคุณภาพ คิดเป็นร้อยละ 100.0 และ
ปัจจัยด้านช่องทางการจัดจำหน่าย มากที่สุด ได้แก่ สามารถติดต่อซื้อโดยตรงกับบริษัท สินค้า
คงคลังที่เพียงพอสนองความต้องการ และการขนส่งมีหลายช่องทาง คิดเป็นร้อยละ 100 สรุป
ผลการวิจัย ส่วนที่2 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลลูกค้าการตัดสินใจซื้อเครื่องมือแพทย์ในเขตกรุงเทพ
และปริมณฑล ด้านการบริการหลังการขาย มีความสำคัญในระดับมากที่สุด ( X = 4.22) สรุป
ผลการวิจัย ส่วนที่ 3 ด้านผู้ประกอบการเปรียบเทียบกับลูกค้ามีความแตกต่างกันด้านช่อง
ทางการจัดจำหน่าย คือผู้ประกอบการ ให้ความสำคัญกับการ สามารถติดต่อซื้อโดยตรงกับ
บริษัท ส่วนของลูกค้า คือสามารถติดต่อซื้อได้โดยตรงกับพนักงานขายได้รวดเร็ว
กลยุทธ์การจัดจำหน่ายเครื่องมือแพทย์สำหรับ บริษัท รีโซลิค จำกัด จากบทสรุปด้าน
ผู้ประกอบการที่ให้ความสำคัญกับด้านผลิตภัณฑ์และปัจจัยด้านช่องทางการจัดจำหน่ายสูงที่สุด
ส่วนลูกค้าให้ความสำคัญกับบริการหลังการขายสูงที่สุด จึงนำมากำหนดกลยุทธ์ทางการตลาด
สรุปได้ดังต่อไปนี้
1. กลยุทธ์เชิงรุก ได้แก่ กลยุท
Full Text : Download! |
||
10. | การศึกษากระบวนการแก้ปัญหาของ บริษัท ABC จำกัด [แสดงบทคัดย่อ] [ซ่อนบทคัดย่อ] | |
ผู้แต่ง : ปิยรัตน์ เมธปรีชากุล | ||
การศึกษาครั3งนี3 มีวัตถุประสงค์เพื)อศึกษากระบวนการแก้ปัญ หาและแนวทางแก้ไข
โดยศึกษาสภาพปัจจุบันของบริษัท ABC จำกัด ซึ)งทำงานบนพื3นฐาน PDCA แม้จะมีการบันทึก
ปัญ หาที)เกิดขึ3น แต่ไม่มีเครื)องมือหรือเทคนิคเพื)อแก้ปัญหาโดยเฉพาะ การศึกษาครัง3 นี3 เลือก
ศึกษาเทียบกับกระบวนการแก้ปัญหาแบบคิวซีสตอรี (QC Story) ซึ)งเป็นเทคนิคที)ทำความ
เข้าใจกับปัญหาอย่างเป็นขั3นตอนและใช้ข้อเท็จจริงในการแก้ปัญหา เครื)องมือทีใ) ช้เก็บข้อมูล คือ
แบบสอบถาม เพื)อศึกษาความคิดเห็นของพนักงานโดยใช้กลุ่มตัวอย่าง 118 คน จำแนกตาม
ปัจจัยด้านบุคคล คือ เพศ อายุ ระดับการศึกษา อายุงาน ตำแหน่งงาน ลักษณะงาน และความรู้
พื3นฐานที)แตกต่างกัน แล้วทำการศึกษาว่าปัจจัยดังกล่าวมีผลต่อระดับความคิดเห็นต่อขัน3 ตอน
ในการแก้ปัญหาแบบคิวซีสตอรี 7 ขัน3 ตอนอย่างไร 7 ขัน3 ตอนนี3 คือ การกำหนดหัวข้อ การ
สำรวจสภาพปัจจุบันของปัญหา การวิเคราะห์สาเหตุ การกำหนดมาตรการตอบโต้และการ
ปฏิบัติ การติดตามผล และการจัดทำให้เป็นมาตรฐานและการทบทวนการแก้ไขเพื)อนำไปสู่การ
ปรับปรุงอย่างต่อเนื)อง รวมทัง3 ศึกษาแนวทางการแก้ไข ข้อมูลนำมาวิเคราะห์โดยการแจงนับ หา
ค่าเฉลีย) ค่าร้อยละ ค่าเบีย) งเบนมาตรฐาน การทดสอบสมมติฐาน โดยการวิเคราะห์ T-test และ
F-test
จากการศึกษา พบว่า พนักงานมีความคิดเห็นว่าการทบทวนการแก้ไขปัญ หาเพื)อ
นำไปสู่การปรับปรุงอย่างต่อเนื)องเป็นข้อที)มีปัญหามากทีส) ุด รองลงมา คือ การกำหนดหัวข้อ
และการวิเคราะห์หาสาเหตุตามลำดับ ส่วนแนวทางแก้ไขทีค) วรดำเนินการมากทีส) ุด คือ ระบบ
การแก้ไขปัญหาต้องได้รับการปรับปรุง รองลงมา คือ มาตรฐานการทำงานไม่ชัดเจน และไม่มี
การนำมาตรการแก้ไขที)ดำเนินการแล้วมาทบทวน รวมถึงมาตรการตอบโต้ไม่ถูกนำไปปฏิบัติ
อย่า
Full Text : Download! |
||
Center of Academic Resource
Institute of Technology 1771/1, E Building, Fl. 2,
Pattanakarn Rd, Suan Luang, Bangkok, 10250