fieldjournalid
![]() | สารนิพนธ์ (MBJ) 2018 |
1. | เจนเนอเรชั่น พฤติกรรม และแรงจูงใจที่มีผลต่อการตัดสินใจซื้อประกันภัยการเดินทางของนักท่องเที่ยวไทยที่เดินทางไปประเทศญี่ปุ่น [แสดงบทคัดย่อ] [ซ่อนบทคัดย่อ] | |
ผู้แต่ง : ศุภาพิชญ์ พงศ์สร้อยเพ็ชร | ||
การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) พฤติกรรมการเดินทางของนักท่องเที่ยวไทยที่เดินทางไปประเทศญี่ปุ่น 2) เปรียบเทียบเจนเนอเรชั่นมีผลต่อการตัดสินใจซื้อประกันภัยการเดินทางของนักท่องเที่ยวไทยที่เดินทางไปประเทศญี่ปุ่น 3) เปรียบเทียบพฤติกรรมการเดินทางไปประเทศญี่ปุ่นมีผลต่อการตัดสินใจซื้อประกันภัยการเดินทางของนักท่องเที่ยวไทยที่เดินทางไปประเทศญี่ปุ่น 4) ปัจจัยด้านแรงจูงใจที่มีผลต่อการตัดสินใจซื้อประกันภัยการเดินทางของนักท่องเที่ยวไทยที่เดินทางไปประเทศญี่ปุ่น เก็บแบบสอบถามจากนักท่องเที่ยวไทยจานวน 470 คน วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน One-Way Analysis of Variance, T-Test และ Simple Regression
ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง ร้อยละ 68.30 เจนเนอเรชั่นบี ร้อยละ 22.60 เจนเนอเรชั่นเอ็กซ์ ร้อยละ 30.00 และเจนเนอเรชั่นวาย ร้อยละ 47.40 มีสถานภาพโสด ร้อยละ 39.10 ระดับการศึกษาปริญญาตรี ร้อยละ 67.70 เป็นพนักงานบริษัท ร้อยละ 36.20 และมีรายได้ 15,001 - 35,000 บาท ร้อยละ 41.90
พฤติกรรมของนักท่องเที่ยวเจนเนอเรชั่นบี เอ๊กซ์และวายมีลักษณะพฤติกรรมการท่องเที่ยวที่เหมือนกัน คือจานวนวันเดินทาง 4 - 6 วัน โดยชอบเดินทางท่องเที่ยวเพื่อเก็บประสบการณ์ ซึ่งแต่ละเจนเนอเรชั่นเดินทางด้วยตนเองมากที่สุด อีกทั้งยังไม่เคยพบอุปสรรคในการเดินทาง ถึงแม้ว่าเจนเนอเรชั่นบีจะเดินทางไปกับสมาชิกในครอบครัว/ญาติ แต่ในทางกลับกันเจนเนอเรชั่นเอ็กซ์และวายมีการเดินทางไปกับเพื่อน/แฟนเป็นส่วนใหญ่
ผลการทดสอบ พบว่า เจนเนอเรชั่นบีแตกต่างจากเจนเนเรชั่นเอ๊กซ์และวายในการตัดสินใจซื้อประกันภัยการเดินทางของนักท่องเที่ยวไทยที่เดินทางไปประเทศญี่ปุ่นอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 และพบว่าประสบการณ
Full Text : Download! |
||
2. | การรับรู้ภาพลักษณ์ตราสินค้าจากญี่ปุ่นและแรงจูงใจส่งผลต่อการตัดสินใจซื้อของผู้บริโภคในกรุงเทพมหานคร [แสดงบทคัดย่อ] [ซ่อนบทคัดย่อ] | |
ผู้แต่ง : ไคลฟ์ วงษ์วิรศิลป์ | ||
การศึกษาในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อศึกษาข้อมูลเรื่องของปัจจัยด้านการรับริโภค
ภาพลักษณ์ตราสินค้าจากญี่ปุ่นและแรงจูงใจที่ส่งผลต่อการตัดสินใจในการซื้อของผู้บริโภคใน
กรุงเทพมหานคร 2) เพื่อศึกษาแนวทางในการต่อยอดเชิงการตลาดให้กับสินค้าญี่ปุ่น 3) เพื่อ
ศึกษาแนวทางในการพัฒนาผลิตภัณฑ์เพื่อการนำสินค้าจากญี่ปุ่นมาจำหน่ายในกรุงเทพมหานคร
4) เพื่อศึกษาแนวทางในการปรับภาพลักษณ์ตราสินค้าจากญี่ปุ่นให้เหมาะกับกลุ่มเป้าหมาย และ
5) เพื่อศึกษาแนวทางการพัฒนาสื่อหรือบรรจุภัณฑ์เพื่อสร้างแรงจูงใจให้เหมาะกับกลุ่มเป้าหมาย
ในเขตกรุงเทพมหานคร การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ มีวิธีการสำรวจจากแบบสอบถาม
กับกลุ่มตัวอย่างซึ่งเป็นผู้ที่เคยซื้อสินค้าหรือบริการที่มีตราสินค้าญี่ปุ่นที่อาศัยอยู่ในกรุงเทพมหานคร
ที่มีอายุ 15 ปีขึ้นไป จำนวน 453 คน ผลการทดสอบค่าสัมประสิทธ์ิของตัวแปรอิสระได้ผลสรุปว่า
การรับรู้ภาพลักษณ์ตราสินค้าจากญี่ปุ่นด้านคุณสมบัติมีความสอดคล้องอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่
ระดับ 0.05 ส่งผลต่อการตัดสินใจซื้อ ส่วนด้านการรับรู้ภาพลักษณ์ด้านคุณประโยชน์แรงจูงใจ
ด้านเหตุผล และแรงจูงใจด้านอารมณ์ มีนัยสำคัญทางสถิติที่ 0.01 ส่งผลต่อการตัดสินใจซื้อโดย
ใช้สูตรการวิเคราะห์แบบการถดถอยพหุคูณ สมการการถดถอยพหุคูณ คือ Y = a + b1X1 + b2X2 + ... + bkXk
Y แทน ตัวแปรตาม
a แทน ค่าคงที่ของสมการ
b1, b2...bk แทน ค่าน้ำหนักคะแนนหรือสัมประสิทธิ์การถดถอย
ของตัวแปรอิสระ ตัวที่ 1 ถึงตัวที่ k ตามลำดับ
X1, X2…Xk แทน ตัวแปรอิสระ ตัวที่ 1 ถึงตัวที่ k ตามลำดับ
k แทน จำนวนตัวแปรอิสระ
จากอิทธิพลที่กล่าวมาทั้งหมดมีความสำคัญและส่งผลต่อกา
Full Text : Download! |
||
3. | ความสัมพันธ์ระหว่างคุณภาพชีวิตในการทำงานกับความผูกพันต่อองค์กรของพนักงานชาวไทบระดับปฏิบัติการในองค์กรญี่ปุ่น [แสดงบทคัดย่อ] [ซ่อนบทคัดย่อ] | |
ผู้แต่ง : จุฬีภรณ์ ภัยนิราศ | ||
การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1. ระดับคุณภาพชีวิตในการทำงานของพนักงาน
ชาวไทยระดับปฏิบัติการในองค์กรญี่ปุ่น 2. ระดับความผูกพันต่อองค์กรของพนักงานชาวไทย
ระดับปฏิบัติการในองค์กรญี่ปุ่น 3. ความสัมพันธ์ระหว่างคุณภาพชีวิตในการทำงานกับความผูกพัน
ต่อองค์กรของพนักงานชาวไทยระดับปฏิบัติการในองค์กรญี่ปุ่น ผู้วิจัยได้กำหนดการศึกษาเกี่ยวกับ
คุณภาพชีวิตของพนักงานชาวไทยระดับปฏิบัติการในองค์กรญี่ปุ่นไว้ 5 ด้าน ได้แก่ ด้านสุขภาพ
ด้านค่าตอบแทน ด้านโอกาสที่จะใช้และพัฒนาความสารมารถของบุคคล ด้านสวัสดิการในอาชีพ
และด้านสภาพสังคม และกำหนดการศึกษาเกี่ยวกับความผูกพันต่อองค์กร 3 ด้านคือ ด้านการกล่าวถึง
องค์กรในเชิงบวก ด้านการปรารถนาที่จะเป็นสมาชิกขององค์กรต่อไป และด้านการพยายามอย่าง
เต็มความสามารถเพื่อบรรลุเป้าหมายขององค์กร ข้อมูลที่ใช้ในการศึกษาครั้งน ี้นำมาจากการ
ค้นคว้าเอกสารที่มีอยู่จากแหล่งต่างๆ และงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง จากกลุ่มพนักงานชาวไทยระดับ
ปฏิบัติการที่ทำงานอยู่ในองค์กรญี่ปุ่น จำนวน 400 คน เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา คือ แบบสอบถาม
วิเคราะห์ข้อมูลด้วยความถ ี่ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติเชิงอนุมาน
โดยการวิเคราะห์ค่าความสัมพันธ์เพียรสัน (Pearson Product Moment Correlation) โดยผลการศึกษาวิจัยพนักงานชาวไทยระดับปฏิบัติการในองค์กรญี่ปุ่น บ่งชี้ว่า
1. ระดบคณภาพชีวิตในการทำงานโดยรวมอยู่ในระดับสูง
2. ระดบความผูกพันต่อองค์กรโดยรวมอยู่ในระดับสูง
3. ดานคณภาพชีวิตในการทำงานทุกด้าน ทั้งด้านสุขภาพ ด้านโอกาสที่จะใช้และพัฒนา
ความสามารถของบุคคล ด้านสวัสดิการในอาชีพ ด้านสภาพสังคม มีความสัมพันธ์ในทิศทาง
เดียวกันกับ
Full Text : Download! |
||
4. | ปัจจัยที่มีผลต่อความพึงพอใจของผู้บริโภคในการเข้าใช้บริการธุรกิจร้านกาแฟ ในอำเภอบางละมุง จังหวัดชลบุรี [แสดงบทคัดย่อ] [ซ่อนบทคัดย่อ] | |
ผู้แต่ง : จิดาภา ดอนพรม | ||
การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) ลักษณะส่วนบุคคลและพฤติกรรมของ
ผู้บริโภคร้านกาแฟในอำเภอบางละมุง จังหวัดชลบุรี 2) ปัจจัยทางการตลาดบริการเชิงบูรณาการ
ที่มีอิทธิพลต่อความพึงพอใจในการเข้าใช้บริการร้านกาแฟ การศึกษานี้เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ
โดยกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย จำนวน 400 คน เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม วิเคราะห์
ข้อมูลโดยใช้ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์
เพียร์สัน (Pearson’s Correlation Coefficient)
ผลจากการวิจัยพบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง อายุระหว่าง 21-30 ปี
มีสถานภาพโสด ส่วนใหญ่มีระดับการศึกษาปริญญาตรี เป็นผู้มีรายได้ระหว่าง 10,001-20,000 บาท
ส่วนมากประกอบอาชีพพนักงานเอกชนหรือรับจ้าง และจากการวิจัยหาพบว่า ปัจจัยกลยุทธ์การ
สร้างสรรค์บรรยากาศ กลยุทธ์การจัดสภาพแวดล้อมดึงดูดให้เข้าร้าน กลยุทธ์บุคลากรทำงานเชิงรุก
เป็น 3 ปจั จัยแรกที่ผู้บริโภคให้ความสำคัญมากที่สุดตามลำดับ โดยปจั จัยส่วนประสมทางการตลาด
บริการเชิงบูรณาการมีความสัมพันธ์กับความพึงพอใจในการเข้าใช้บริการร้านกาแฟของผู้บริโภค
ในจังหวัดชลบุรี อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01
Full Text : Download! |
||
5. | อิทธิพลของผู้มีชื่อเสียงและช่องทางการตลาดออนไลน์ที่มีผลต่อการตัดสินใจซื้อสินค้าและบริการประเภทร้านอาหารญี่ปุ่น [แสดงบทคัดย่อ] [ซ่อนบทคัดย่อ] | |
ผู้แต่ง : ณัฐธมณท์ ณัฐวงศ์รัตนกร | ||
การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาอิทธิพลของคุณลักษณะของแหล่งข้อมูลและช่องทางการสื่อสารที่มีต่อการตัดสินใจซื้อสินค้าและบริการประเภทร้านอาหารญี่ปุ่น โดยอ้างอิงตามทฤษฏีการโฆษณาโดยใช้บุคคลที่มีชื่อเสียง ใช้แบบสอบถามเก็บข้อมูลจากลูกค้าทั่วไปผู้เคยใช้บริการและติดตามข่าวสารออนไลน์ผ่านช่องทางการตลาดของร้านอาหารญี่ปุ่น และรับรู้ว่าร้านอาหารญี่ปุ่นมีการใช้พรีเซนเตอร์ในการโปรโมทร้าน ทั่วประเทศจานวน 466 คน วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติแบบแจกแจงความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เพียร์สัน วิเคราะห์การถดถอยเชิงเส้นแบบพหุเชิงชั้น พบว่า กลุ่มตัวอย่างร้อยละ 62.60 เป็นเพศหญิง ร้อยละ 45.30 มีอายุระหว่าง 30-40 ปี ร้อยละ 66.40 จบการศึกษาในระดับปริญญาตรี ร้อยละ 21.30 รายได้มากกว่า 50,000 บาท ร้อยละ 87.90 ติดตามข่าวสารเกี่ยวกับอาหารญี่ปุ่นและร้านอาหารญี่ปุ่นผ่านช่องทางออนไลน์ ร้อยละ 45.70 ความถี่ในการติดตามข่าวสารเกี่ยวกับอาหารญี่ปุ่นและร้านอาหารญี่ปุ่นผ่านช่องทางออนไลน์ 1-2 ครั้งต่อสัปดาห์ และร้อยละ 57.46 ช่องทางออนไลน์ของร้านอาหารญี่ปุ่นที่ผู้ตอบแบบสอบถามติดตามคือผ่าน Facebook ผลการทดสอบสมมติฐาน พบว่า คุณลักษณะบุคคลที่มีชื่อเสียงในด้านความไว้วางใจและความเหมือนกับกลุ่มเป้าหมาย มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจซื้อและใช้บริการโดยรวม อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ (p < 0.01) ความหลากหลายของช่องทางและความถี่ในการโฆษณาผ่านช่องทางการตลาดออนไลน์ มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจซื้อและใช้บริการโดยรวม อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ (p < 0.01) ซึ่งสนับสนุนสมมติฐานงานวิจัย ผลการวิจัยนี้สามารถนาไปประยุกต์ใช้เป็นแนวทางให้แก่ธุรกิจร้านอาหารในการเลือกใช้พรีเซนเตอร์และช่องทางการตลาดออนไลน์ในการประชาสัมพัน
Full Text : Download! |
||
6. | ทักษะการสื่อสารการปรับตัวด้านวัฒนธรรมกับความสุขของคนญี่ปุ่นที่เข้ามาพำนักระยะยาวในประเทศไทย [แสดงบทคัดย่อ] [ซ่อนบทคัดย่อ] | |
ผู้แต่ง : สกุลเนตร สังวรณ์ | ||
การศึกษาทักษะการสื่อสารการปรับตัวด้านวัฒนธรรมกับความสุขของคนญี่ปุ่นที่เข้ามาพานักระยะยาวในประเทศไทย มีวัตถุประสงค์ 1.เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการปรับตัวทางวัฒนธรรมกับความสุขของคนญี่ปุ่นที่เข้ามาพานักระยะยาว 2.เพื่อเปรียบเทียบทักษะการสื่อสารที่แตกต่างกันส่งผลกับความสุขของคนญี่ปุ่นที่เข้ามาพานักระยะยาว โดยการศึกษาจากกลุ่มตัวอย่าง 428 ตัวอย่างในประเทศไทย จากคนญี่ปุ่นอาศัยอยู่หรือทางาน โดยใช้วิธีการสุ่มตามความสะดวก เก็บข้อมูลแบบสอบถาม คนญี่ปุ่นที่ไปร่วมกิจกรรมตามสมาคมต่าง ๆ และทางอินเตอร์เน็ต และ นาข้อมูลมาวิเคราะห์โดยการหาค่าแจกแจงความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยกลุ่มตัวอย่าง การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว และ การวิเคราะห์ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน
ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศชายชาวญี่ปุ่น ที่มีอายุระหว่าง 36-46 ปี สถานภาพโสด อาชีพ เป็นคนทางาน ทักษะการสื่อสารในการพูด ฟัง อ่าน-เขียน ภาษาไทย และภาษาอังกฤษได้ในระดับต่า ลักษณะที่พานักระยะยาวที่ประเทศญี่ปุ่นเป็นบ้านเดี่ยว และ ในประเทศไทยเป็นคอนโดมิเนียม การถือครองกรรมสิทธิ์ที่พานักระยะยาวในประเทศไทยเป็นลักษณะการเช่าอยู่ ระยะเวลาในการพานักในประเทศจะเกิน 1 ปีขึ้นไป เหตุผลที่เลือกมาพานักระยะยาวเพราะค่าครองชีพที่ถูก และสถานที่ต้องการพานักระยะยาว จะเป็นสถานที่ใกล้กับคมนาคมที่สะดวกในการเดินทาง
ผลการวิจัยพบว่า กลุ่มตัวอย่างให้ความสาคัญในการปรับตัว ทั้ง 8 ด้าน และด้านสุขภาพเป็นอันดับ1 ( =3.77) รองลงมาคือ ด้านบ้านเรือน ( =3.75) และ ด้านอาหาร( =3.66)
กลุ่มตัวอย่างให้ความสาคัญเกี่ยวกับคุณภาพชีวิตและความสุขเป็นอันดับ1คือHappy body( =3.86) รองลงมาคือ Happy Relax( =3.79) และ Happy Brain ( =
Full Text : Download! |
||
7. | พฤติกรรมและความสัมพันธ์ระหว่างการบริการสไตล์ญี่ปุ่น (Omotenashi) และการตลาดดิจิทัลกับการตัดสินใจใช้บริการร้านอาหารญี่ปุ่นประเภทบุฟเฟ่ต์ของผู้บริโภคเจนเนอเรชั่น Y และ เจนเนเรชั่น Z / ปภาวี โอนฉะเอก [แสดงบทคัดย่อ] [ซ่อนบทคัดย่อ] | |
ผู้แต่ง : ปภาวี โอนฉะเอก | ||
การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) พฤติกรรมการใช้บริการร้านอาหารญี่ปุ่นประเภทบุฟเฟ่ต์ของผู้บริโภคเจนเนอเรชั่น Y และ เจนเนอเรชั่น Z 2) ความสัมพันธ์ระหว่างการบริการสไตล์ญี่ปุ่น (Omotenashi) กับการตัดสินใจใช้บริการร้านอาหารญี่ปุ่นประเภทบุฟเฟ่ต์ของผู้บริโภคเจนเนอเรชั่น Y และ เจนเนอเรชั่น Z และ 3) ความสัมพันธ์ระหว่างการตลาดดิจิทัลกับ การตัดสินใจใช้บริการร้านอาหารญี่ปุ่นประเภทบุฟเฟ่ต์ของผู้บริโภคเจนเนอเรชั่น Z และ เจนเนอเรชั่น Y กลุ่มตัวอย่างจานวน 409 คน ใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูลด้วยความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน วิเคราะห์ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เพียร์สัน
ผลการศึกษาพฤติกรรมการใช้บริการ ส่วนใหญ่นิยมใช้บริการเวลา 15:01 - 18:00 น. ใช้บริการ 1 - 2 ครั้งต่อเดือน จานวนผู้มีส่วนร่วม 4 - 5 คนต่อครั้ง ผู้มีส่วนร่วมในการตัดสินใจ ใช้บริการคือเพื่อน กลุ่มตัวอย่างที่เป็นเพศชายมีค่าใช้จ่ายต่อครั้งต่ากว่า 400 บาท เพศหญิง มีค่าใช้จ่ายต่อครั้ง 401 - 600 บาท เจนเนอเรชั่น Y นิยมใช้บริการวันเสาร์-อาทิตย์ เจนเนอเรชั่น Z นิยมใช้บริการวันจันทร์-ศุกร์
ผลการทดสอบสมมติฐาน พบว่า การบริการสไตล์ญี่ปุ่น (Omotenashi) ด้าน การสังเกต ด้านการสร้างรอยยิ้ม ด้านการทักทาย และด้านการสนทนา ไม่มีความสัมพันธ์กับการตัดสินใจใช้บริการร้านอาหารญี่ปุ่นประเภทบุฟเฟ่ต์ของผู้บริโภคเจนเนอเรชั่น Y และเจนเนอเรชั่น Z และพบว่า การตลาดดิจิทัล ด้านจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ ด้านเว็บไซต์ ด้านการตลาดแบบใช้ผู้มีอิทธิพล และด้านสื่อสังคม มีความสัมพันธ์กับการตัดสินใจใช้บริการร้านอาหารญี่ปุ่นประเภทบุฟเฟ่ต์ของผู้บริโภคเจนเนอเรชั่น Y และเจนเนอเรชั่น Z
Full Text : Download! |
||
8. | ปัจจัยการธำรงรักษาคนเก่งให้คงอยู่ในองค์กร : กรณีศึกษา บริษัท ดี เอ็น ที อินสเป็คชั่น เซอร์วิส จำกัด [แสดงบทคัดย่อ] [ซ่อนบทคัดย่อ] | |
ผู้แต่ง : วิภาวี ศักดิ์ศรี | ||
การวิจัยในครั้ง นี้เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) ศึกษาข้อมูลพื้นฐาน
และความต้องการด้านสวัสดิการของพนักงานในองค์กร 2) ศึกษาปจั จัยในการธำรงรักษาคนเก่ง
ในองค์กร มีกลุ่มตัวอย่างเป็นพนักงานในองค์กรจำนวน 104 คน โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือ
ในการเป็นข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูลด้วยความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์
ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เพียร์สันระหว่างตัวแปรต้นและตัวแรตาม การวิเคราะห์ด้วยค่าเฉลี่ย
ของกลุ่มตัวอย่าง 2 กลุ่มที่มีความเป็นอิสระต่อกัน ผลการวิจัยพบว่าปจั จัยการธำรงรักษาคนเก่ง
ทัง้ 6 ด้าน ลักษณะงาน บทบาทของหัวหน้างาน วัฒนธรรมและสิ่งแวดล้อม การเรียนรู้และการพัฒนา
โอกาสความก้าวหน้า รางวัลผลตอบแทน มีความมีความสัมพันธ์ต่อการธำรงรักษาคนเก่ง (Sig.
มีค่าน้อยกว่า 0.05) นอกจากนี้ผลการวิเคราะห์การวิเคราะห์ด้วยค่าเฉลี่ยของกลุ่มตัวอย่าง 2
กลุ่มที่มีความเป็นอิสระต่อกันระหว่างพนักงาน พนักงานเกรด A ทัง้ หมด 12 คน, พนักงานเกรด
B ทัง้ หมด 79 คน, พนักงานเกรด C ทัง้ หมด 9 คน, และพนักงานเกรด D ทัง้ หมด 5 คน พบว่า
มีทัศนคติต่อการธำรงรักษาคนเก่งที่ไม่แตกต่างกัน
Full Text : Download! |
||
9. | พฤติกรรมและส่วนประสมทางการตลาด 7Ps ส่งผลต่อการตัดสินใจเลือกบริโภคอาหารและของหวานจากประเทศญี่ปุ่น [แสดงบทคัดย่อ] [ซ่อนบทคัดย่อ] | |
ผู้แต่ง : สันต์ทศน์ โกวิทยานนท์ | ||
การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) พฤติกรรมของผู้บริโภค ที่ส่งผลต่อการ ตัดสินใจเลือกบริโภคอาหารและของหวาน จากประเทศญี่ปุ่น 2) เพื่อศึกษาส่วนผสมทางการ ตลาด 7Ps ส่งผลต่อการตัดสินใจเลือกบริโภคอาหารและของหวาน จากประเทศญี่ปุ่น โดยศึกษา
จากกลุ่มตัวอย่างที่เคยเลือกบริโภคอาหารและขนมหวานจากประเทศญี่ปุ่น จำนวน 427 ฉบับ
โดยใช้วิธีการเก็บข้อมูลแบบสอบถาม (Questionnaire) วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ความถ ี่ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน One-Way Analysis of Variance, T-test และ Simple Regression กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง คิดเป็นร้อยละ 52.50 โดยมีอายุระหว่าง 26-35 ปี
มากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 41.50 โดยส่วนใหญ่มีสถานภาพโสด คิดเป็นร้อยละ 62.80 ระดับการศึกษา
ปริญญาตร ีคิดเป็นร้อยละ 62.50 ประกอบอาชีพเป็นพนักงานบริษัท คิดเป็นร้อยละ 32.80 รายได ้
มากที่สุดเฉลี่ยต่อเดือน 15,001-35,000 บาท คิดเป็นร้อยละ 42.20 พฤติกรรมของกลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่มีความถี่ในการบริโภคต่อเดือน 1-3 ครั้ง โดยม ี
ค่าใช้จ่ายในการบริโภคต่อครั้ง 300-499 บาท โดยมีวันที่เลือกบริโภคมากที่สุดคือวันเสาร์-
อาทิตย ์อีกทั้งยังรูปแบบของบริการร้านอาหารที่บริโภคมากที่สุดคืออาหารชุด และบุคคลที่ม ี
อิทธิพลต่อการตัดสินใจมากที่สุดคือเพื่อน โดยมีสาเหตุหลักที่มีผลต่อการตัดสินใจมากที่สุดคือ
เพื่อสัมผัสถึงสุนทรียภาพของอาหารญี่ปุ่น และสถานที่ซื้อสินค้าที่ส่งผลต่อการตัดสินใจซื้อมาก
ที่สุดคือห้างสรรพสินค้าที่ไปใช้บริการบ่อยๆ
ผลการทดสอบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยของระดับการตัดสินใจเลือกบริโภคอาหาร
และขนมหวานจากประเทศญี่ปุ่น สรุปได้ว่า พฤติกรรมความถี่ของผู้บริโภคอาหารและขนมหวาน
จากประเทศญี่ปุ่นแล
Full Text : Download! |
||
10. | อิทธิพลของอัตลักษณ์องค์กรที่เป็นตัวแปรคันกลางของความสัมพันธ์ระหว่างแรงจูงใจและความผูกพันธ์ต่อองค์กรของพนักงานเจเนเรชั่นวาย [แสดงบทคัดย่อ] [ซ่อนบทคัดย่อ] | |
ผู้แต่ง : นิณณยา ภิญโญตระกูล | ||
การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างแรงจูงใจตามทฤษฎี ERG อัตลักษณ์องค์กร และความผูกพันต่อองค์กร และอิทธิพลของอัตลักษณ์องค์กรในฐานะตัวแปรคั่นกลางที่ส่งผลต่อความสัมพันธ์ดังกล่าว ตามแนวคิดและทฤษฎีความผูกพันต่อองค์กร ในกลุ่มพนักงาน เจเนอเรชั่นวาย (เกิดระหว่าง พ.ศ. 2524 ถึง พ.ศ. 2543) ในเขตกรุงเทพฯและปริมณฑล จานวน 426 คน ด้วยแบบสอบถาม นาผลการสารวจมาวิเคราะห์และประมวลผลข้อมูลด้วยโปรแกรมสาเร็จรูปทางสถิติ SPSS ใช้สถิติ ค่าความถี่ (Frequency) ค่าร้อยละ (Percentage) ค่าเฉลี่ย (Mean) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน (Pearson’s Correlation Coefficient) และการวิเคราะห์ความถดถอยพหุเชิงชั้น (Hierarchical Multiple Regression) พบว่า กลุ่มตัวอย่างร้อยละ 64.60 เป็นเพศหญิง ร้อยละ 48.12 มีอายุระหว่าง 23-28 ปี ร้อยละ 50.70 มีคู่สมรส ร้อยละ 84.04 จบการศึกษาระดับปริญญาตรี ร้อยละ 65.50 มีอายุงานอยู่ระหว่าง 3-4 ปี ร้อยละ 45.10 มีรายได้เฉลี่ย 20,001-25,000 บาทต่อเดือน และร้อยละ 65.50 อยู่ในระดับตาแหน่งที่มีผู้ใต้บังคับบัญชา ผลการทดสอบสมมติฐานพบว่า แรงจูงใจตามทฤษฎี ERG อัตลักษณ์องค์กร และความผูกพันต่อองค์กร มีความสัมพันธ์กันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ และยังพบว่า แรงจูงใจตามทฤษฎี ERG มีอิทธิพลต่ออัตลักษณ์องค์กร และอัตลักษณ์องค์กรส่งผลต่อความผูกพันต่อองค์กร ซึ่งสนับสนุนสมมติฐานงานวิจัย
Full Text : Download! |
||
Center of Academic Resource
Institute of Technology 1771/1, E Building, Fl. 2,
Pattanakarn Rd, Suan Luang, Bangkok, 10250