fieldjournalid
![]() | บทความวิจัย (EEM) 2015 |
1. | ความต้องการการออกกาลังกายของนิสิตมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ [แสดงบทคัดย่อ] [ซ่อนบทคัดย่อ] | |
ผู้แต่ง : อมรรัตน์ เหมทานนท์ | ||
วัตถุประสงค์เพื่อศึกษาถึงความต้องการเกี่ยวกับการออกกาลังกายใน
ด้านต่างๆ ได้แก่ ด้านหน่วยงานและด้านบุคลากรผู้รับผิดชอบในการ
ให้บริการ ด้านสถานที่อุปกรณ์ และสิ่งอานวยความสะดวก ด้านวิชาการ
ด้านงบประมาณสนับสนุน ด้านชนิดของ กิจกรรรม และด้านช่วงเวลาในการ
ออกกาลังกาย โดยศึกษาเกี่ยวกับความต้องการการออกกาลังกายของนิสิต
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ชั้นปีที่ 1 ถึง 4 ที่กาลังศึกษาอยู่ จานวน 400 คน
โดยวิธีการเก็บแบบสอบถามผลการศึกษา พบว่า เพศหญิง (ร้อยละ 53.8)
ซึ่งมีจานวนเกือบเท่าๆ กันกับเพศชาย (ร้อยละ 46.2) ส่วนใหญ่ออกกาลัง
กายจานวน 2 วัน/สัปดาห์ คิดเป็นร้อย 30.2 มีระยะเวลาที่ออกกาลังกาย
มากกว่า 20 นาที/ครั้ง คิดเป็นร้อย 54.0 โดยออกกาลังกายในช่วงเวลา
ระหว่าง 16.30-18.30 น. คิดเป็นร้อย 66.8 และออกกาลังกายที่
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ส่วนใหญ่ต้องการกิจกรรมการออกกาลังกายที่
มากที่สุด จากการเดิน-วิ่งเพื่อสุขภาพความต้องการการออกกาลังกายโดย
ระดับมากที่สุด คือ ด้านส่งเสริมสุขภาพและสมรรถภาพทางกาย รองลงมา
อยู่ในระดับปานกลาง คือ ด้านอุปกรณ์ สถานที่และสิ่งอานวยความสะดวก
และด้านหน่วยงานและบุคลากรที่รับผิดชอบในการให้บริการ ตามลาดับ การ
เปรียบเทียบระหว่างสถานภาพและพฤติกรรมการออกกาลังกายกับความ
ต้องการการออกกาลังกายของนิสิตมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์เปรียบเทียบ
ด้านสถานภาพ นิสิตมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ที่มีเพศแตกต่างกัน โดย
ภาพรวมไม่แตกต่างกัน แต่เมื่อเทียบดูระหว่างชั้นปีที่แตกต่างกัน เมื่อศึกษา
ด้านพฤติกรรมการออกกาลังกาย ระยะเวลาที่ออกกาลังกายในแต่ละครั้ง
แตกต่างกัน ช่วงเวลาที่ออกกาลังกายแตกต่างกัน สถานที่ที่ใช้ออกกาลังกาย
แตกต่างกัน และกิจกรรมการออกกาลังกายที่ต้องการมากที่สุดแตกต่างกัน
Full Text : Download! |
||
2. | การศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อความผูกพันของพนักงาน บริษัทกรณีศึกษาในจังหวัดพิษณุโลก [แสดงบทคัดย่อ] [ซ่อนบทคัดย่อ] | |
ผู้แต่ง : อภิชาติ แดงบัว | ||
ในการศึกษานี้มีวัตถุประสงค์ในการศึกษา (1) เพื่อศึกษาถึงความผูกพัน ต่อองค์กรของพนักงานบริษัทศึกษา ในจังหวัดพิษณุโลกซึ่งจะสามารถส่งผลให้บริษัทสามารถสร้างกลยุทธ์ทางด้านการบริหารงานบุคคล เพื่อให้สามารถธารงรักษาพนักงานที่มีความรู้ ทักษะ เอาไว้กับองค์กรได้ (2) เพื่อศึกษาโครงสร้างการบริหารงานบุคคลบนปัจจัยที่ทาให้เกิดความภักดี ต่อองค์กร (3) เพื่อศึกษาแนวทางใหม่ในการสร้างหรือพัฒนารูปแบบของการบริหารงานบุคคล และกลยุทธ์ใหม่ในการนาไปประยุกต์ใช้กับแผนการบริหารงานบุคคลเพื่อให้เกิดความผูกพันต่อองค์กรของพนักงาน ซึ่งใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการศึกษา โดยฝ่ายที่มีความผูกพันต่อองค์กรน้อยที่สุดคือฝ่ายธุรกิจการขาย และแผนกศูนย์บริการโดยพบว่าพนักงานทั้งสองฝ่ายมีความผูกพันต่อองค์กรต่าสุดจากปัจจัยสภาพแวดล้อมในการทางาน ดังนั้น บริษัทควรจะกาหนดกลยุทธ์ในด้านการบริหารงานบุคคลโดยเน้นไปที่การพัฒนาสภาพแวดล้อมในการทางานของพนักงาน เพื่อให้พนักงานเกิดความผูกพันต่อองค์กร ทั้งนี้บริษัทควรเพิ่มแนวทางในการบริหารด้านค่าตอบแทนและสวัสดิการใหม่ๆ เข้าไปด้วยเพื่อให้พนักงานเกิดความผูกพันสูงสุดต่อบริษัท
Full Text : Download! |
||
3. | การตัดสินใจเลือกทาเลที่ตั้งโรงงานผลิตเครื่องดื่มแห่งใหม่ [แสดงบทคัดย่อ] [ซ่อนบทคัดย่อ] | |
ผู้แต่ง : อรุชา อิทธิฉันทกิจ | ||
การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อให้ทราบถึงปัจจัยในการตัดสินใจเลือกที่ตั้งโรงงานผลิตเครื่องดื่มจัดลาดับความสาคัญของปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจเลือกทาเลที่ตั้งโรงงาน และวิธีการพิจารณาเลือกทาเลที่ตั้งโรงงาน โดยใช้วิธีการประเมินค่าการตัดสินใจของทาเลที่ตั้งโรงงานผลิต 3 วิธี คือวิธีการให้คะแนนปัจจัย (The Factor-Rating Method) วิธีหาจุดศูนย์กลาง (Center of Gravity Method) และรูปแบบค่าน้าหนักและระยะทาง (The Load–Distance Model) ตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษามี 2 ตัวอย่าง คือจังหวัดขอนแก่นและจังหวัดนครราชสีมา ใช้แบบสัมภาษณ์เป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล ผลการศึกษาพบว่า ปัจจัยสาคัญที่ผู้เชี่ยวชาญใช้ในการตัดสินใจเลือกทาเลที่ตั้งโรงงานผลิตเครื่องดื่มแห่งใหม่มี 6 ข้อ ผลการศึกษาโดยใช้วิธีที่ 1 วิธีการให้คะแนนปัจจัย (The Factor-Rating Method) พบว่าทาเลที่ตั้งในจังหวัดนครราชสีมามีคะแนนปัจจัยรวม 77 คะแนนส่วนทาเลที่ตั้งในจังหวัดขอนแก่นมีคะแนนปัจจัยรวม 84 คะแนน ดังนั้นทาเลที่ตั้งที่เหมาะสมที่จะตั้งโรงงานผลิตเครื่องดื่มแห่งใหม่คือทาเลที่ตั้งที่อยู่ในจังหวัดขอนแก่น ผลการศึกษาโดยใช้วิธีที่ 2 วิธีหาจุดศูนย์กลาง (Center of Gravity Method) พบว่าพิกัดตาแหน่งทาเลที่ตั้งของโรงงานผลิตเครื่องดื่มแห่งใหม่คือ (16.0,103.1) ซึ่งพบว่าพิกัดตาแหน่งอยู่ใกล้กับทาเลที่ตั้งในจังหวัดขอนแก่นซึ่งมีพิกัดตาแหน่ง (16.3,102.8) มากกว่าทาเลที่ตั้งในจังหวัดนครราชสีมาซึ่งมีพิกัดตาแหน่ง (15.0,102.2) ส่วนผลการศึกษาโดยใช้วิธีที่ 3 รูปแบบค่าน้าหนักและระยะทาง (The Load–Distance Model) จานวนรวมของน้าหนักและระยะทางสาหรับแต่ละทาเลที่ตั้งคือจากทาเลที่ตั้งในจังหวัดขอนแก่นไปยังคลังสินค้าสาขาเท่ากับ 2,272,276 และจากทาเลที่ตั้งในจังหวัดนครรา
Full Text : Download! |
||
4. | การตลาดบริการสาหรับวิศวกรรมเกี่ยวกับความปลอดภัย กรณีศึกษา บริษัท ซี.ซี.ที. เอ็นจิเนียริ่ง จากัด [แสดงบทคัดย่อ] [ซ่อนบทคัดย่อ] | |
ผู้แต่ง : ชัยกฤต ศรีกาญจนาเวช | ||
การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวางแผนการตลาดและวางกลยุทธ์ทางการตลาดขององค์กรให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น สาหรับธุรกิจบริการด้านวิศวกรรมความปลอดภัยอาชีวอนามัย และสิ่งแวดล้อม ของบริษัท เอ.ซี.ที. เอ็นจิเนียริ่ง จากัด ซึ่งเป็นการศึกษาเชิงวิเคราะห์ โดยการใช้ข้อมูลในอุตสาหกรรมบริการและลักษณะธุรกิจ มาวิเคราะห์ลูกค้าและตลาด วิเคราะห์กระบวนการแบ่งส่วนตลาด การกาหนดตลาดเป้าหมาย และตาแหน่งทางการตลาด (Segmentation, Targeting, Positioning) วิเคราะห์และศึกษาถึงส่วนผสมทางการตลาดบริการ (Service Marketing Mix) และนาข้อมูลมาจัดทาเป็นแผนการตลาดและกาหนดกลยุทธ์ทางการตลาดบริการ ผลการศึกษาพบว่า แผนการตลาดและกลยุทธ์ทางการตลาดสาหรับธุรกิจบริการ สามารถทาให้มียอดขายเพิ่มขึ้น 20% จากเดิม 14.991,362 บาท เป็น 17,980,000 บาท โดยประมาณ จากรายได้ที่เติบโตเฉลี่ย 10% และจากการดาเนินการแผนการตลาดส่งเสริมงานบริการอย่างต่อเนื่อง ด้วยกลยุทธ์ส่วนผสมการตลาดบริการ เมื่อพิจารณาในงบการเงินจะเห็นได้ว่ามีอัตรากาไรสุทธิ (Net Profit Margin) เพิ่มขึ้นปีละ 3% สาหรับแผนระยะสั้น 3 ปี
Full Text : Download! |
||
5. | การปรับปรุงประสิทธิภาพในการผลิตแผงกระบะทึบด้านข้าง (Side Panel) ของรถกระบะยกเทประเภทขนส่งงานโยธาและงานภาคเกษตร กรณีศึกษา โรงงานผลิตรถพ่วงและรถกึ่งพ่วง [แสดงบทคัดย่อ] [ซ่อนบทคัดย่อ] | |
ผู้แต่ง : ชาติชาย หมอกเจริญ | ||
การศึกษานี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาวิธีการปรับปรุงประสิทธิภาพ การผลิตให้เหมาะสมกับกระบวนการผลิตและวิเคราะห์ปรับปรุงสายการผลิตให้มีกระบวนการไหลอย่างราบรื่น ในกระบวนการประกอบชิ้นส่วนรถพ่วงและรถกึ่งพ่วงของบริษัทกรณีศึกษารายหนึ่ง ซึ่งปัจจุบันบริษัทกรณีศึกษามีความต้องการจะลด Lead Time ในการผลิตให้สั้นลง เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน เพิ่มส่วนแบ่งทางการตลาดให้มากขึ้น และรองรับ การขยายตัวของตลาดด้วยการเพิ่มประสิทธิภาพของกระบวนการผลิตหลังจากทาการวิเคราะห์เพื่อปรับปรุงกระบวนการในการจัดการการผลิตแล้ว พบว่า Lead Time รวมลดลงจากเดิม 6.4 ชั่วโมง ลดลงเหลือ 4.3 ชั่วโมง โดยลดลง คิดเป็นร้อยละ 33ลดระยะทางในการขนย้ายจากเดิม 23 เมตร เหลือ 16 เมตร ลดลงร้อยละ 30
Full Text : Download! |
||
6. | การประยุกต์ใช้ระบบการผลิตแบบลีนในอุตสาหกรรมการผลิตรถกึ่งพ่วง กรณีศึกษา บริษัทตัวอย่างการผลิตรถกึ่งพ่วง [แสดงบทคัดย่อ] [ซ่อนบทคัดย่อ] | |
ผู้แต่ง : ดำรงค์ชัย อินธิแสง | ||
กำรศึกษำนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษำและหำแนวทำงลดควำมสูญเปล่ำในกระบวนกำรผลิต กำรประยุกต์ใช้แนวคิดแบบลีนและลดเวลำนำ (Lead Time) ในกำรผลิตรถกึ่งพ่วงลดลง ซึ่งปัจจุบัน พบว่ำ โรงงำนกรณีศึกษำประสบปัญหำกำรผลิตส่งมอบล่ำช้ำ ไม่ตอบสนองควำมต้องกำรลูกค้ำ โดยอดีตโรงงำนกรณีศึกษำมีกำรหยุดรอคอยระหว่ำงกระบวนกำรผลิต ซึ่งทำให้กำรใช้เครื่องจักรยังไม่เต็มประสิทธิภำพ มีกำรจัดเก็บสินค้ำคงคลังจำนวนมำกใช้ระยะเวลำนำนและมีเวลำนำในกำรผลิต (Production Lead Time) ยำวนำน โดยกำหนดเป้ำหมำยลดเวลำนำ (Production Lead Time) ลดลงร้อยละ 30 ผลกำรศึกษำ พบว่ำ มีประเด็นที่ปรับปรุง 3 ประเด็น 1) ลดเวลำนำ (Lead Time) คลังสินค้ำ โดยกำรเปลี่ยนแปลงวิธีจัดทำกำรวำงแผนวัสดุ ไม่สต๊อควัตถุดิบนำนและปริมำณมำก โดยปรับปรุงวิธีกำรทำแผนควำมต้องกำรวัสดุ ปรับปรุงกระบวนกำรจัดซื้อ โดยปรับปรุงจุดสั่งซื้อ (Re-Oder Point) และ Two-Bin System และปรับปรุงรอบกำรส่งวัตถุดิบ พบว่ำ สำมำรถลดลง 96 ชั่วโมง คิดเป็น ร้อยละ 85.71 2) กำรเพิ่มประสิทธิภำพกำรจัดส่ง กำรจัดเก็บชิ้นส่วนด้ำนท้ำยไลส์ประกอบ ลดเวลำกำรค้นหำชิ้นส่วน โดยกำรปรับปรุงอุปกรณ์เพื่อจัดส่งชิ้นส่วน คือ Dolly Cart ซึ่งสำมำรถระบุ ลักษณะกำรวำง กำรจัดเรียงสำมำรถลดลง 56 ชั่วโมง คิดเป็นร้อยละ 98 3) ลดเวลำนำกำรทำสี โดยกำรปรับปรุงเปลี่ยนแปลงวัตถุดิบ จำกกำรทำสีระบบสีน้ำมัน เป็นระบบสีแห้งเร็วโพลียูรีเทรน สำมำรถลดลง 22.17 ชั่วโมง คิดเป็น ร้อยละ 51.83 ภำพรวมกำรปรับปรุงด้วย กำรประยุกต์ใช้ระบบกำรผลิตแบบลีน สำมำรถลดเวลำนำ (Production Lead Time) จำกเดิม 459 ชั่วโมง ลดลงเหลือ 289.85 ชั่วโมง คิดเป็นลดลง ร้อยละ 37.53
Full Text : Download! |
||
7. | การศึกษาพฤติกรรมการเลือกร้านขายยาแผนปัจจุบันของผู้บริโภคในอาเภอเมือง จังหวัดนนทบุรี [แสดงบทคัดย่อ] [ซ่อนบทคัดย่อ] | |
ผู้แต่ง : กัญญมาศ ชื่นอารมณ์ | ||
การศึกษาเรื่องพฤติกรรมการเลือกร้านขายยาแผนปัจจุบันในอาเภอเมือง จังหวัดนนทบุรี มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีผลกระทบต่อความพึงพอใจในการเลือกร้านขายยาแผนปัจจุบันของผู้บริโภคในอาเภอเมือง จังหวัดนนทบุรีและเพื่อศึกษาถึงพฤติกรรมการเลือกร้านขายยาแผนปัจจุบันของผู้บริโภคในอาเภอเมือง จังหวัดนนทบุรี โดยแยกแยะตามหลักประชากรในด้าน เพศ, อายุ, สถานภาพ, การศึกษา, อาชีพ, รายได้ ซึ่งกลุ่มตัวอย่างในการวิจัยครั้งนี้เป็นกลุ่มตัวอย่างจานวน 400 ตัวอย่าง และใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูลใช้โปรแกรมสาเร็จรูป หาค่าสถิติต่างๆ จากผลการศึกษาพบว่า พฤติกรรมการเลือกร้านขายยาของผู้บริโภคที่แตกต่างกันมีผลต่อปัจจัยด้านส่วนประสมทางการตลาดของร้านขายยาแตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญที่ระดับความเชื่อมั่น 95% มีดังนี้ ปัจจัยด้านส่วน ประสมทางการตลาดในด้านราคา (Price) ได้แก่ บุคคลที่มีส่วนช่วยตัดสินใจในการเลือกร้านขายยา, รูปแบบร้านขายยาที่เลือกใช้ ด้านสถานที่ (Place) ได้แก่ รูปแบบร้านขายยาที่เลือกใช้ ด้านผลิตภัณฑ์ (Product) ได้แก่ วัตถุประสงค์ที่เลือกบริการร้านขายยา, รูปแบบร้านขายยาที่เลือกใช้ ด้านส่งเสริมการตลาด (Promotion) ได้แก่ ข้อมูลจากการใช้บริการร้านขายยา
Full Text : Download! |
||
8. | การศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อการเลือกใช้คาราโอเกะ ของประชากรในเขตกรุงเทพมหานคร [แสดงบทคัดย่อ] [ซ่อนบทคัดย่อ] | |
ผู้แต่ง : กวี บุญพิมพ์ | ||
การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อการเลือกใช้บริการคาราโอเกะของประชากรในเขตกรุงเทพมหานคร ประชากรที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ คือ ประชาชนในเขตกรุงเทพมหานครที่เคยใช้บริการคาราโอเกะในเขตกรุงเทพมหานคร โดยสุ่มตัวอย่างเทียบตามรางของ Yamane กาหนดค่าความคลาดเคลื่อนร้อยละ 5 คานวณได้ขนาดกลุ่มตัวอย่างจานวน 400 คน ซึ่งเครื่องมือในการศึกษาครั้งนี้คือ แบบสอบถาม ผลการศึกษาพบว่า ปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดบริการทั้ง 7 ด้าน มีผลต่อการตัดสินใจในการเลือกใช้บริการคาราโอเกะอยู่ในระดับสูง โดยเรียงลาดับจากด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด ดังต่อไปนี้ คือ ปัจจัยด้านบุคคลากรหรือพนักงาน รองลงมา คือ ปัจจัยด้านกายภาพ ปัจจัยด้านกระบวนการ ปัจจัยด้านผลิตภัณฑ์ ปัจจัยราคา ปัจจัยด้านสถานที่จัดจาหน่าย และปัจจัยด้านการส่งเสริมการตลาด ตามลาดับ และการวิเคราะห์องค์ประกอบ พบว่า องค์ประกอบที่ส่งผลต่อการเลือกใช้บริการคาราโอเกะของผู้ตอบแบบสอบถามนั้น มีทั้งหมด 8 องค์ประกอบ โดยเรียงลาดับจากองค์ประกอบที่เป็นปัจจัยที่ส่งผลจากมากที่สุดไปน้อยที่สุด ดังนี้ องค์ประกอบที่ 1 ด้านผลิตภัณฑ์/บริการ และความเหมาะสมของราคา องค์ประกอบที่ 2 ด้านกระบวนในการใช้งาน และบริการ องค์ประกอบที่ 3 ด้านบุคลากร และการให้บริการมีองค์ประกอบที่ 4 ด้านบรรยากาศของสถานที่ องค์ประกอบที่ 5 ด้านการจัดกิจกรรมส่งเสริมการขาย องค์ประกอบที่ 6 ด้านทาเลที่ตั้ง สถานที่ องค์ประกอบที่ 7 ด้านสื่อประชาสัมพันธ์ในการเข้าถึงบริการ องค์ประกอบ ที่ 8 ด้านบริการอื่นๆ เพิ่มเติมจากบริการหลักของคาราโอเกะ
Full Text : Download! |
||
9. | การศึกษาความเป็นไปได้ของแผนธุรกิจเครื่องปรุงรสไทย (น้าพริกเผา) [แสดงบทคัดย่อ] [ซ่อนบทคัดย่อ] | |
ผู้แต่ง : คมพัฒน์ วิเศษภักดีวงศ์ | ||
การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อจัดทาแผนธุรกิจผลิตภัณฑ์เครื่องปรุงรสไทยประเภทน้าพริกเผาเพื่อสร้างความเจริญเติบโต และผลกาไรในการดาเนินธุรกิจ โดยการศึกษาทางด้านการตลาด ด้านการบริหาร และทางด้านการเงิน จากการศึกษาได้พิจารณารูปแบบธุรกิจ จัดจาหน่ายผลิตภัณฑ์น้าพริกต่างๆ ภายใต้ตราสินค้าของตนเอง การศึกษาทางด้านการตลาดโดยการดาเนินกลยุทธ์ทางการตลาด ได้แก่ การวิเคราะห์ SWOT การวิเคราะห์ Five Forces Model การแบ่งส่วนการตลาด (Segmentation) การกาหนดเป้าหมายทางการตลาด (Targeting) การวางตาแหน่งสินค้า (Positioning) ผลิตภัณฑ์ (Product) ราคา (Price) ช่องทางการจัดจาหน่าย (Place) การส่งเสริมการขาย (Promotion) พบว่า โครงการมีความเป็นไปได้โดยมีช่องทางในการจัดจาหน่ายหลัก 2 แนวทาง คือ การจัดจาหน่ายผ่านร้านค้าของตนเอง และการสร้างเว็บไซด์ เพื่อการจัดจาหน่ายสินค้า การศึกษาทางด้านการบริหารรูปแบบการดาเนินงาน และบริหารจัดการ แบ่งออกเป็น 2 ส่วน คือ ส่วนการผลิตผลิตภัณฑ์ และส่วนการตลาดและการขาย การศึกษาทางด้านการเงิน ใช้เงินลงทุนทั้งสิ้น 5 ล้านบาท ระยะเวลาของโครงการ 5 ปี ระยะเวลาคืนทุน 1.15 ปี มูลค่าปัจจุบันสุทธิ (Net Present Value : NPV) เท่ากับ 31,954,515.37 บาท อัตราผลตอบแทน (Internal Rate of Return : IRR) เท่ากับร้อยละ 142.89 ซึ่งแสดงให้เห็นว่า โครงการนี้มีความเป็นไปได้ในการลงทุนเพื่อดาเนินธุรกิจ
Full Text : Download! |
||
10. | การปรับปรุงประสิทธิภาพกระบวนการประกอบตัวถังรถพ่วงกระบะยกเท กรณีศึกษา บริษัทตัวอย่างการผลิตรถพ่วง [แสดงบทคัดย่อ] [ซ่อนบทคัดย่อ] | |
ผู้แต่ง : เกริก กลมเกลียว | ||
การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อปรับปรุงประสิทธิภาพกระบวนการ
ประกอบให้ตอบสนองและรองรับการขยายตัวของตลาด รวมไปถึงการเพิ่ม
ผลผลิตของบริษัทให้มีส่วนแบ่งทางการตลาดมากขึ้น จากการศึกษา
กระบวนการทางานของกระบวนการประกอบตัวถังรถพ่วงกระบะยกเท
บริษัท พบว่าผลผลิตที่ทาได้ต่อเดือนยังไม่สามารถตอบสนองความต้องการ
ของลูกค้าที่เพิ่มขึ้น ดังนั้นจึงนาข้อมูลมาวิเคราะห์สภาพการณ์ โดยทาการ
ประยุกต์ใช้เทคนิควิศวกรรมวิธีการ, เทคนิคอีซีอาร์เอส (ECRS) และแผนภูมิ
ความสมดุลของปริมาณงาน (YAMAZUMI CHART) ในการสมดุล
สายการผลิตเพื่อปรับปรุงประสิทธิภาพกระบวนการประกอบ หลังจากทาการ
ปรับปรุงประสิทธิภาพกระบวนการประกอบแล้ว พบว่ารอบเวลาในการ
ทางานของกระบวนประกอบ (Cycle Time) ต่อ 1 คัน ก่อนการปรับปรุงใช้
เวลาทั้งหมด 3,210 นาที หลังดาเนินการปรับปรุงใช้เวลา 2,731 นาที ลดลง
จากเดิม 479 นาที หรือลดลงประมาณร้อยละ 12 ส่งผลทาให้ยอดการ
ประกอบเพิ่มขึ้นจากเดิม 18 คันต่อเดือน เป็น 26 คันต่อเดือน เพิ่ม
ประสิทธิภาพการประกอบต่อคน จาก 1 คัน ต่อเดือน เป็น 1.23 คัน ต่อ
เดือน หรือสามารถเพิ่มประสิทธิภาพการประกอบขึ้นประมาณร้อยละ 23
Full Text : Download! |
||
Center of Academic Resource
Institute of Technology 1771/1, E Building, Fl. 2,
Pattanakarn Rd, Suan Luang, Bangkok, 10250